วันพุธที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2553

แผนงานโรงเรียนธรราชรปี ๕๐ แก้ไขใหม่

สารสนเทศโรงเรียนธรรมราชศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

1. ระบบสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา
1.1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา

1.1.1 ประวัติโรงเรียน

โรงเรียนธรรมราชศึกษา ตั้งอยู่ในบริเวณวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เลขที่ 2 ถน นสามล้าน ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งโดย พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิวมหาเถร) ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่ “พระธรรมราชานุวัตร“ เจ้าอาวาสวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เมื่อปี พ.ศ.2503 โดยใช้ทุนทรัพย์ที่พระเดชพระคุณขายที่ดินที่เป็นมรดก จำนวน 250,000 บาท (สองแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) และได้งบประมาณจากกระทรวง ศึกษาธิการสมทบอีก 420,000 บาท (สี่แสนสองหมื่นบาทถ้วน) โดยเจตนารมณ์จากลิขิตของพระคุณท่านใน สมุดหมายเหตุเล่มที่ 1 ของโรงเรียนธรรมราชศึกษาว่า “ข้าพเจ้าในฐานะเจ้าอาวาสและคณะผู้บริหารคณะสงฆ์ภาคนี้พิจารณาเห็นว่า วัดพระสิงห์วรมหาวิหารเป็นพระอารามหลวง เป็นวัดประจำจังหวัดมีเนื้อที่กว้างขวาง มีการศึกษานักธรรม – บาลี และโรงเรียนบาลีมัธยมอยู่ ถ้ามีการศึกษาของเด็กเพิ่มขึ้นอีกแผนกหนึ่งก็จะเป็นการดี เป็นการช่วยเหลือ ราชการในการศึกษาและสงเคราะห์เด็กให้มีที่เรียนสะดวกขึ้นเพื่อจะได้อบรมเด็กให้มีความประพฤติดี มีศีลธรรม ยึดมั่นในศาสนา” และอีกตอนหนึ่งความว่า “พระภิกษุสามเณรเป็นผู้สอนคนต้องมีความรู้ ทั้งทางโลกและทางธรรมจึงจะสอนชาวบ้านได้“ โดยจุดยืนอันนี้ทำให้ศิษยานุศิษย์ตลอดจนผู้บริหาร ครู – อาจารย์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะพระเดชพระคุณพระธรรมสิทธาจารย์ เจ้าอาวาสวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ ผู้รับใบอนุญาตองค์ปัจจุบันได้สำนึกในเมตตาองค์ผู้ก่อตั้งโรงเรียนจึงได้ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจ ทุกอย่างเพื่อสืบทอดเจตนารมณ์อันยิ่งใหญ่ที่มีประโยชน์ต่อเยาวชนของชาติจนตราบเท่า ทุกวันนี้
เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2516 พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ได้มรณภาพ พระธรรมสิทธาจารย์ (หนู ถาวโร) ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่ “พระวิมลญาณมุนี” ผู้จัดการโรงเรียนธรรมราชศึกษา ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้รับใบอนุญาต ในปี พ.ศ.2516 จนถึงปัจจุบัน
ปี พ.ศ. 2503 เปิดเรียน วันที่ 17 พฤษภาคม มีนักเรียน 129 คน
ปี พ.ศ. 2508 ได้รวมโรงเรียนบาลีมัธยมเข้ากับโรงเรียนธรรมราชศึกษาเพราะมติของ
มหาเถรสมาคมให้ยกเลิกโรงเรียนบาลีมัธยมทั่วประเทศ
ปี พ.ศ. 2510 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนรัฐบาล
ปี พ.ศ. 2520 ได้ขยายชั้นเรียนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย
ปี พ.ศ. 2521 ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการทดลองพัฒนาโรงเรียนราษฎร์ของวัดเพื่อ
การกุศลซึ่งเป็นหนึ่งใน11 โรงเรียนทั่วประเทศ มีจุดเด่นที่มุ่งเน้นด้านจริยศึกษา พลศึกษาการงานอาชีพและ วิชาการตามหลักสูตรใหม่ทำให้โรงเรียนมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ มากมาย มีแนวปฏิบัติงานเป็นของตนเอง
ปี พ.ศ. 2533 ฉลองครบรอบ 30 ปี มีศิษย์เก่า ศรัทธาประชาชน จำนวนมาก ให้ความร่วมมือและอุปถัมภ์เป็นอย่างดียิ่ง เป็นนิมิตหมายที่จะพัฒนาโรงเรียนในทิศทางที่ดีต่อไป
ปี พ.ศ. 2542 ได้รับการประกาศให้เป็นโรงเรียนสีขาว จากกระทรวงศึกษาธิการ
ปี พ.ศ. 2543 - ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาจากสำนักงานคณะ
กรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ
- ฉลองครบรอบ 40 ปี พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิวมหาเถร )
มีอายุ 100 ปี
ปี พ.ศ. 2544 ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษา จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ปี พ.ศ. 2545 ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในการคัดเลือกสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราช
ทานระดับจังหวัด และ รางวัลชมเชยระดับเขตการศึกษา
ปี พ.ศ. 2546 - เข้าร่วมโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
- ได้รับคัดเลือกเป็นสถานศึกษาสีขาวเฉลิมพระเกียรติปลอดยาเสพติด
ปี พ.ศ. 2550 ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษา จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) สมศ.
ปี พ.ศ. 2550 ได้รับรางวัลโรงเรียนเหรียญทอง ในโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

โรงเรียนธรรมราชศึกษา เปิดสอนวิชาสามัญตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จะแยกสายการเรียนเป็น 4 สาย คือ วิทย์-คณิตฯ, ศิลป์-คำนวณ, ศิลป์-ภาษาญี่ปุ่น และศิลป์-ภาษาจีน โรงเรียนธรรมราชศึกษามีห้องเรียน 35 ห้อง นักเรียน 1,114 รูป/คน เป็นนักเรียนบรรพชิต 704 คน นักเรียนชาย 410 คน ครู 65 รูป/คน แยกเป็นครูบรรพชิต 15 คน ครูชาย 29 คน ครูหญิง 21 คน มีอาคารประกอบการเรียน 2 หลัง และมีเนื้อที่ทั้งหมด 10 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551


1.1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริหาร - บุคลากร
โรงเรียนธรรมราชศึกษาก่อตั้งมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2503 ปัจจุบันก็เป็นเวลา 53 ปี แล้ว ซึ่ง หลวงพ่อพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เป็นองค์ผู้ก่อตั้งโรงเรียน ปัจจุบัน พระธรรมสิทธาจารย์ เจ้าอาวาสวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เป็นผู้รับใบอนุญาต พระสิงหวิชัย เป็นผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต และผู้จัดการ และครูใหญ่ มีรายนามดังนี้
ทำเนียบผู้จัดการ โรงเรียนธรรมราชศึกษา
ชื่อ – สกุล
ปี พ.ศ. ที่ดำรงตำแหน่ง
1. พระธรรมสิทธาจารย์
2503 – 2524
2. พระครูอนุสรณ์ศีลขันธ์
2525 – 2538
3. นายสุรัตน์ เหล็กงาม
2529 – 2546
4. นายทวี สุทรารมณ์ลักษณ์
2547 – 2549
5. พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์
2550 - ปัจจุบัน

ทำเนียบครูใหญ่ โรงเรียนธรรมราชศึกษา
ชื่อ – สกุล
ปี พ.ศ. ที่ดำรงตำแหน่ง
1. นายน้อย ใจบุญ
2503 – 2506
2. นายสุรัตน์ เหล็กงาม
2506 – 2508
3. นายธนิทธ์ เมฆขยาย
2508 – 2510
4. นายเจือ วงค์ภูธร
2510 – 2514
5. นายเสริม สุวรรณโกสุม
2514 – 2515
6. นายเจือ วงค์ภูธร
2515 – 2524
7. นายปรีชา นัยโพธิ์
2524 – 2528
8. นายมงคล บุญศรี
2528 – 2533
9. นายปรีชา นัยโพธิ์
2533 – 2535
10. นายประหยัด ไพเราะ
2535 – 2536
11. นายทอง อัมโรจน์
2536 – 2539
12. พระครูปลัดสิทธิวัฒน์
2539 – 2549
13. นายสง่า นันทะกาญจน์
2550 - ปัจจุบัน


1.2 แผนผังภายในโรงเรียนธรรมราชศึกษา
1.2.2 โรงเรียนธรรมราชศึกษา มีอาคารเรียนและอาคารประกอบการเรียน รวม 6 หลัง ได้แก่
1. อาคารพระอุบาลีคุณูปมาจารย์
2. อาคารพระธรรมราชนุวัตร
3. อาคารเฉลิมพระเกียรติ
4. อาคารพระธรรมสิทธาจารย์ 92 ปี
5. อาคารเรืองวิสุทธิ์
โรงเรียนธรรมราชศึกษามีเนื้อที่ทั้งหมด 10 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา
พื้นที่ปลูกสร้างอาคาร 2 ไร่ 58 ตารางวา
พื้นที่สนาม/นันทนาการ 7 ไร่ 42 ตารางวา
จำนวนห้องเรียนทั้งหมด 34 ห้อง
ภายในอาคารประกอบด้วยห้องประกอบประกอบการดังนี้
- ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ 1 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 64 ตารางเมตร
- ห้องคอมพิวเตอร์ 2 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 192 ตารางเมตร
- ห้องดนตรี-นาฎศิลป์ 2 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 128 ตารางเมตร
- ห้องปฏิบัติการทางภาษา 1 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 64 ตารางเมตร
- ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ 1 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 64 ตารางเมตร
- ห้องประหยัดพลังงาน 1 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 64 ตารางเมตร
- ห้องพยาบาล 1 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 64 ตารางเมตร
- ห้องสมุด 1 ห้อง เฉลี่ย คิดเป็น 64 ตารางเมตร

1.2.3 บริเวณสถานที่อำนวยความสะดวกอื่น ๆ และบริเวณที่วิ่งเล่นของเด็กนักเรียน
เนื่องจากโรงเรียนธรรมราชศึกษา มีพื้นที่จำกัด ซึ่งตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ดังนี้
1. ด้านหน้าอาคารเรียนพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ จะมีสนามกีฬาและมุมพักผ่อน ซึ่งประกอบด้วย สนามบาสเกตบอล 1 สนาม, สนามวอลเล่ย์บอล 1 สนาม, สนามตระกร้อ 1 สนาม, มุมพักผ่อนของนักเรียน
2. ด้านหน้าอาคารเรียนเฉลิมพระเกียรติ ประกอบด้วย สนามเปตอง 1 สนาม
3. ภายในบริเวณโรงอาหาร ประกอบด้วย โต๊ะเทบิลเทนนิส 1 โต๊ะ
4. มุมพักผ่อนของนักเรียน ซึ่งมีรอบบริเวณโรงเรียน



1.3 สภาพชุมชน
1.3.1 สภาพทางภูมิศาสตร์ ตั้งอยูทางทิศเหนือของประเทศไทย เสนรุงที่ 16 องศาเหนือ และ เสนแวงที่ 99 องศาตะวันออกสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,027 ฟุต (310 เมตร) หางจากกรุงเทพมหานคร 720 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 20,107.057 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 12,566,910 ไร
1.3.2 สภาพเศรษฐกิจ / อาชีพ
1.3.3 ศาสนา ประชากรจังหวัดเชียงใหมมีผูนับถือ ศาสนาพุทธ 91.80 % ศาสนาอิสลาม 1.17%
ศาสนาคริสต 5.60% ศาสนาพราหมณ ฮินดู ซิกส 0.02% ศาสนาอื่น ๆ 1.41%
1.3.4 วัฒนธรรมประเพณีสำคัญ เดือนเมษายน (หรือเดือนเจ็ด ตามการนับเดือนของชาวลานนา)
ประเพณีสงกรานต ดําหัว ประเพณีสืบชะตาบานเมือง บวชลูกแกวและพิธีสูขวัญ เดือนพฤศจิกายน (หรือเดือน ยี่ ตามการนับเดือนของชาวลานนา) ประเพณีเดือนยี่เปง (ลอยกระทง)
สภาพชุมชนรอบโรงเรียนมีลักษณะชุมชนเมือง โดยโรงเรียนตั้งอยู่ในแขวงศรีวิชัย เขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อยู่ในย่านเศรษฐกิจ มีสาธารณูปโภคสะดวกสบาย ชุมชนบริเวณโรงเรียนเป็นร้านค้าพาณิชย์ หอพัก โรงแรม มีสินค้าอุปโภคบริโภคครบครัน โรงเรียนตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ซึ่งเป็นวัดสำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ และมีวัดที่อยู่ใกล้เคียงวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร คือวัดศรีเกิด วัดทุงยูง วัดชัยพระเกียรติ วัดปราสาท วัดผาบ่อง นอกจากนั้นจะมีส่วนราชการที่อยู่ใกล้เคียงคือ สถานีตำรวจภูธร อำเภอเมืองเชียงใหม่ สำนักงานเกษตรกรรมภาคเหนือ
จำนวนประชากรประมาณ 45,000 คน จำนวนเด็กในวัยเรียน 13,000 คน อาชีพสำคัญ ธุรกิจการค้าและหอพัก บ้านเช่า รายได้เฉลี่ยต่อครอบครัว 123,000 บาท/คน/ปี
โอกาสของสถานศึกษากับความร่วมมือในด้านต่างๆ ของชุมชน ชุมชนมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมและให้ความช่วยเหลือโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นอย่างดี
1.3.5 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เรียน/ชุมชน มีภูมิปัญญาท้องถิ่น 3 คน ยกตัวอย่างคนที่ได้ถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เรียน/ชุมชน ดังนี้
1. พระมหาโผน ภัททจารี ภูมิปัญญาด้าน ครูสอนภาษาบาลี
2. พระครูใบฎีกาหล้า อมรเมโธ ครูภูมิปัญญาด้านศาสนพิธี
3. นายอังกูร เสนาบุตร ภูมิปัญญาด้าน วิทยากรการแพทย์แผนไทย
4. นายพิชิต เกศะรักษ์ ภูมิปัญญาด้าน วิทยากรการแพทย์แผนไทย

ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ อุปกรณ์ เครื่องอำนวยความสะดวก
จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งหมด 80 เครื่อง
· ใช้เพื่อการเรียนการสอน จำนวน 50 เครื่อง
· ใช้ในการบริหาร จำนวน 20 เครื่อง
· เล่น Internet ได้ 60 เครื่อง
จำนวนเครื่องถ่ายเอกสาร 2 เครื่อง
จำนวนเครื่องเล่น วีดีโอ/ซีดี 8 เครื่อง
จำนวนเครื่องโทรสาร 1 เครื่อง
จำนวนโทรทัศน์ 20 เครื่อง
จำนวนวิทยุ 5 เครื่อง

ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้
จำนวนหนังสือในห้องสมุด 10,500 เล่ม
หนังสือในห้องสมุดสืบค้นด้วยระบบ Library 2002
มีแหล่งข้อมูลที่สืบค้นทาง Internet ได้ 60 เครื่อง
คิดสัดส่วนจำนวนนักเรียน : เครื่อง = 18 : 1
1.4 โครงสร้างการบริหาร
ผช.ครูใหญ่
ฝ่ายกิจการนักเรียน
นักเรียน, ผู้ปกครอง, ชุมชน, นักการภารโรง, และบุคลากรของโรงเรียน
งานแผนและพัฒนา
งานทะเบียนวัดผล
งานวัดผล - ประเมินผล
งานสื่ออุปกรณ์การสอน
งานกลุ่มสาระวิชา
งานศาสนศึกษา
งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
งานเลขานุการฝ่าย
งานห้องสมุด
คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา

ผู้จัดการ
ผช. ครูใหญ่
ฝ่ายบริการ
ผช.ครูใหญ่
ฝ่ายธุรการ
ผช.ครูใหญ่
ฝ่ายวิชาการ
ครูใหญ่
ผู้ช่วยผู้จัดการ
สมาคมศิษย์เก่าธรรมราชฯ
ผู้รับใบอนุญาตผังบริหารงาน


ชมรมผู้ปกครองนักเรียน













งานแผนและพัฒนา
งานสารบรรณ
งานพัสดุครุภัณฑ์
งานการเงิน
งานร้านค้าสหการ
งานกองทุนสวัสดิการครู
งานกองทุนสงเคราะห์ครู
งานบรรจุ ถอน บุคลากร
งานเลขานุการฝ่าย
งานสารสนเทศ
งานแผนและพัฒนา
งานปกครองบรรพชิต
งานกิจกรรมและชุมชนสัมพันธ์
งานสวัสดิศึกษา
งานคณะกรรมการนักเรียน
งานจริยศึกษา
งานเยี่ยมผู้ปกครอง
งานระเบียบและวินัย
งานจัดครูเวรประจำวัน
งานเลขานุการฝ่าย
งานแผนและพัฒนา
งานโสตทัศนูปกรณ์
งานอาคารสถานที่
งานสาธารณูปโภค
งานโภชนาการ
งานสิ่งแวดล้อม
งานอนามัยโรงเรียน
งานประชาสัมพันธ์
งานนักการภารโรง
งานยานพาหนะ
งานเลขานุการฝ่าย














1.5 ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของโรงเรียน
1..5.1 ปรัชญาโรงเรียน
สุวิชาโน ภวํ โหติ ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ
สารสำคัญของปรัชญา
1. ผู้เรียนเป็นผู้ตัดสินใจเองอย่างมีเหตุผล มีความหมายอย่างชาญฉลาด
2. ให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ ลงมือกระทำ
3. ความรู้ที่นักเรียนได้รับต้องเป็นความรู้ที่ทันสมัย
4. ให้มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมพื้นฐาน
5. ให้ผู้เรียนสามารถรู้จักวิธีการ การนำเอาความรู้ที่ได้รับให้เกิดประโยชน์
6. เสริมสร้างให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน

1.5.2 วัตถุประสงค์

1. เพื่อช่วยเหลือทางราชการแบ่งเบาภาระรัฐบาลในด้านการศึกษา
2. เพื่อสงเคราะห์เด็กให้มีที่เรียน
3. เพื่ออบรมเด็กให้มีความรู้ทางศีลธรรมและศาสนา
4. เพื่ออนุวัตร ตามจารีตประเพณีโบราณ ซึ่งวัดเป็นสถาบันการศึกษามิใช่เป็นเพียงสถาน
ที่บำเพ็ญบุญและให้ทานเท่านั้น

1.6 นโยบายของโรงเรียน
เพื่อให้บรรลุตามปรัชญาของโรงเรียน จึงมีนโยบายให้โรงเรียนจัดโครงการกิจกรรมให้สอดคล้องปรัชญาของโรงเรียน คือ
1. ส่งเสริมและเผยแพร่ปรัชญาของโรงเรียนทางด้านวิชาการและคุณธรรมให้ปรากฏ
2. จัดระบบการบริหารของโรงเรียน แบ่งสายงานให้เป็นสัดส่วนเน้นให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมใน การบริหารงาน ส่งเสริมวิทยฐานะและสร้างขวัญกำลังใจให้แก่บุคลากรโดยทั่วถึงกัน
3. มุ่งพัฒนาครูให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน
4. ปรับปรุงระบบงานธุรการให้เป็นระบบระเบียบ การบริหารงานด้านการเงิน จัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบภายใน และผู้ตรวจสอบบัญชีของโรงเรียนเพื่อให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
5. นำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระวิชา
6. มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้และทักษะตามหลักสูตร การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ,สร้างสรรค์ มีวิสัยทัศน์ แสวงหาความรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
7. ส่งเสริมด้านกิจกรรมนักเรียน คณะกรรมการนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ โรงเรียน
8. มุ่งพัฒนาโรงเรียนสู่การประกันคุณภาพการศึกษา และรางวัลโรงเรียนพระราชทาน
9. ปรับปรุงห้องทำงานให้เป็นสัดส่วน พัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนเป็นระเบียบร่มรื่น สะอาดและสวยงาม
10. ส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
11. มุ่งพัฒนาโรงเรียนให้เป็นศูนย์บริการชุมชนและเป็นผู้นำชุมชน

1.7 แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเป็นพิเศษ

โรงเรียนธรรมราชศึกษา เป็นโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาตั้งอยู่ในบริเวณ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของคนในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งโรงเรียนมีคณะครูที่ชำนาญงานหลายด้าน จึงมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงดังต่อไปนี้
1. คุณธรรมและจริยธรรม
2. ความสามารถในการสื่อสารภาษาต่างประเทศ
3. วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น

1.7.1 สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการส่งเสริมกิจกรรมนักเรียนอย่างเต็มศักยภาพ เสริมสร้างให้ปรัชญาของโรงเรียนปรากฏได้ รูปธรรมอย่างชัดเจน ซึ่งโรงเรียนได้ดำเนินงานตามภาระงาน ดังนี้
ด้านการใช้หลักสูตร เน้นการนำหลักสูตรไปใช้พัฒนาระบบการเรียนการสอน และระบบการวัดและประเมินผลเพื่อนักเรียนทุกคนจะได้รับการพัฒนาได้สอดคล้องกับแผนพัฒนาแห่งชาติ และตามแนวนโยบายของโรงเรียน โดยเน้นพิเศษที่พัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลทั้งครบที่สอดคล้องสมดุลทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม บุคลิกภาพและเจตคติที่ดีเป็นพิเศษ โดยเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยทางโรงเรียนยึดตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และทางโรงเรียนได้พัฒนาหลักสูตรเพื่อจัดให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและยุคสมัย เช่น สอนคอมพิวเตอร์ ศาสนพิธี หลักสูตร วิถีพุทธ พร้อมได้จัดหลักสูตรเสริมให้กับนักเรียน จัดหลักสูตรและกิจกรรมเสริมตลอดปีการศึกษา
ด้านการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนได้มุ่งเน้นให้ครูผู้สอนพัฒนาตนเอง เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนใช้เครื่องมือ สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และเอกสารประกอบการสอน และแห่งความรู้ที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการทำงาน มีความรู้ตามที่กำหนดในหลักสูตร มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง และเข้าร่วมทำกิจกรรมตามความสนใจ ตามศักยภาพของตนเอง พร้อมทั้งสนับสนุนให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมพิเศษภายนอกโรงเรียน ที่จะช่วยเหลือชุมชน เป็นการฝึกประสบการณ์ ได้เรียนรู้ที่จะเสียสละการให้ การแบ่งปัน การเกื้อกูลช่วยเหลือกันและกัน มีความสามัคคี และพร้อมที่จะทำประโยชน์ให้กับชุมชน และสังคมมากขึ้น

ด้านคุณลักษณะของนักเรียนที่ต้องการ โรงเรียนธรรมราชศึกษา มุ่งเน้นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามแผนการจัดประสบการณ์ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) เพื่อพัฒนานักเรียน 3 ทักษะ คือ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย พร้อมทั้งพัฒนาพฤติกรรม บุคลิกภาพ และสร้างเจตคติที่ดี
พร้อมนี้ทางโรงเรียนมีการส่งเสริมให้นักเรียนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น มีความวิริยะอุตสาหะ เป็นผู้มีจิตสำนึกที่ดีต่อผู้ด้อยโอกาส สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม นั่นคือเป็นนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทั้งครบที่สมดุลทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ

ด้านการติดตามผลและรายงานผล
1. ผลการเรียนของนักเรียน โดยการจัดทำสมุดรายงานผลการเรียน เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างผู้ปกครองกับครู จัดงานวันประชุมผู้ปกครองเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและครูได้ร่วมมือกันพัฒนานักเรียน พร้อมทั้งกำกับ ติดตาม และรายงานผลทั้งพฤติกรรมที่อยู่ที่บ้านและในโรงเรียน หลังการสอบแต่ละครั้งจะแจ้งผลการเรียนเป็นคะแนนให้กับผู้ปกครองได้ทราบสำหรับนักเรียนที่อ่อน ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมเสริมในวันหยุด
2. การบริหารและการจัดการ จัดนิเทศภายในสำหรับบุคลากร และตรวจสอบผลงานของบุคลากรตามสายงานบริหาร มีการประชุมฝ่ายเพื่อติดตามผลและรายงานผล เมื่อสิ้นโครงการหรือ แต่ละฝ่ายจะจัดทำการประเมินผลเพื่อตรวจสอบแประเมินกิจกรรมที่จัด เพื่อนำผลมาปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป และเมื่อสิ้นปีการศึกษาจะประชุม เพื่อรายงานผลความก้าวหน้าของทุกฝ่ายต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียน เพื่อทุกฝ่ายจะได้รับทราบความสำเร็จ หรืออุปสรรคในการดำเนินงานของฝ่ายอื่น
3. ผู้ปกครองและชุมชน จัดทำธรรมราชสาร แผ่นพับ เว็บไซต์ เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร และความเคลื่อนไหวของโรงเรียนต่อชุมชน สำรวจความคิดเห็นของผู้ปกครองและนำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงระบบบริหารงาน
1.7.2 สภาพการบริหาร
1.7.2.1 การบริหารหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน โรงเรียนมีการวิเคราะห์หลักสูตร ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และนักเรียน เพื่อจัดหลักสูตรรายวิชาต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและนักเรียน ครูทุกคนมีแผนการสอนครบและนำไปใช้ทุกรายวิชา โดยมีการกำหนดรูปแบบแผนการสอน และองค์ประกอบขึ้นใช้เอง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการประเมินหลักสูตรจากผลการเรียนของนักเรียนและสภาพปัญหา อุปสรรคจากการเรียนการสอนแล้วนำผลประเมินไปใช้ประกอบการพิจารณาจัดทำโครงการพัฒนาการเรียนการสอนมีการวิเคราะห์สภาพความต้องการของผู้เรียน เพื่อนำมาจัดทำโครงการพัฒนาการเรียนการสอน จากผลงานของนักเรียนและจากความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอย่างหลากหลาย มีเครื่องมือสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยี ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องดนตรี สนามกีฬา ห้องปฏิบัติการของแต่ละกลุ่มสาระ ครูผู้สอนได้รับการนิเทศอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง มีเอกสารหลักฐานการวัดผลประเมินผลถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
ด้านกิจการนักเรียน โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์อย่างหลากหลาย ครอบคุลมนักเรียนทุกระดับชั้น ซึ่งกิจกรรมเหล่านั้น ส่งเสริมความถนัดความสนใจและสามารถพัฒนานักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งได้แก่ กิจกรรมชุมนุมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานเด่นชัดเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ
โรงเรียนให้ความสำคัญเกี่ยวกับงานโภชนาการ และงานแนะแนวนักเรียนอย่างดียิ่ง โดยโรงเรียนมีการบรรจุบุคลากรที่มีความสามารถโดยตรง ให้รับผิดชอบกิจกรรมดังกล่าว จัดทำให้นักเรียนมีสุขภาพกายและใจสมบูรณ์ มีความร่าเริงแจ่มใสและมีชีวิตชีวา นักเรียนได้รับการพัฒนาครบทั้ง 4 ด้าน อย่างสมดุลทั้งร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา นักเรียนมีความสุขมีความร่าเริงแจ่มใส มีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัย
1.7.2.2 การบริหารงานบุคคลากร
โรงเรียนได้เห็นความสำคัญของบุคลากร จึงได้มีการวางแผนการคัดเลือก สรรหาบุคลากร และพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางานที่รับผิดชอบส่งเสริมการปฏิรูปการสอนของครู โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ และเป็นแบบอย่างที่ดี ปฏิบัติตนสอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
โรงเรียนได้สนับสนุน ส่งเสริมให้บุคลากร มีความมุ่งมั่นต่อความสำเร็จในการทำงาน เน้นความสามัคคีในหมู่คณะ การทำงานร่วมกัน มีการจัดทำแผนการดำเนินงาน ประชุมแสดงความคิดเห็น และปฏิบัติงานตามแผนที่ชัดเจนและตรวจสอบได้
โรงเรียนได้สนับสนุนบุคลากรให้มีขวัญกำลังใจ มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ โดยปรับปรุงอัตราเงินเดือน ค่าตอบแทน ให้เหมาะสมกับภาวะทางเศรษฐกิจ มีการขึ้นเงินเดือนทุกปี เงิน 3% ประกันอุบัติเหตุ
1.7.2.3 การบริหารทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน
การบริหารอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม โรงเรียนได้ดำเนินการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบการ ห้องเรียน ห้องประกอบ/สถานที่ฝึกปฏิบัติ และสภาพแวดล้อมเหมาะสมกับสภาพการใช้งาน โดยคำนึงถึงความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และมีการบำรุงรักษาอย่างเหมาะสม มีการปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารสถานที่อยู่เสมอ มีระบบป้องกันไฟฟ้าลัดวงจรอัตโนมัติและถังดับเพลิงตามอาคารทุกอาคาร และมีการตรวจสอบสภาพความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร เพื่อความปลอดภัยของบุคลากร
โรงเรียนได้จัดนักการรับผิดชอบ ทำความสะอาด โดยแบ่งพื้นที่ให้แต่ละคนรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ครูและนักเรียนร่วมรับผิดชอบทำความสะอาดห้อง และดูแลบริเวณโดยรอบ
โรงเรียนได้จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนการสอน และให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ มีการจัดภูมิทัศน์ในโรงเรียน และจัดวางแผนแม่บทเกี่ยวกับสถานที่ อาคารเรียน อาคารประกอบได้อย่างเหมาะสม ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และจัดสวนหย่อม ที่พักผ่อนหย่อนใจ มีบรรยากาศที่ร่มรื่น และได้จัดห้องน้ำสะอาดไว้บริการนักเรียนอย่างพอเพียง
การบริหารสื่อ นวัตกรรม และวัสดุอุปกรณ์ โรงเรียนได้จัดห้องสมุด มุมหนังสือ พร้อมเอกสารและตำราที่เหมาะสมเอื้อต่อการเรียนรู้โดยจัดบริเวณห้องสมุด ที่อาคารพระธรรมสิทธาจารย์ 92 ปี และได้ติดป้ายความรู้และป้ายนิเทศตามอาคารเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดป้ายนิเทศและแสวงหาความรู้ จากป้ายความรู้และป้ายนิเทศด้วยตนเอง
โรงเรียนได้จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และนวัตกรรม ที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการเรียนการสอน และสนับสนุนส่งเสริมให้ครูและนักเรียนได้จัดทำสื่อและนวัตกรรม ประกอบการเรียนการสอน พร้อมทั้งมีการจัดเก็บและบำรุงรักษาที่มีประสิทธิภาพ

1.8 การมีส่วนร่วมของชุมชน

โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานสาธารณสุขของเทศบาลและจังหวัด มาตรวจสุขภาพและ ดูแลด้านโภชนาการ สนับสนุนจากพระสิงห์มูลนิธิ ทุนนิธิศบศาตราศร นิธิธรรมราชศึกษา สมาคมศิษย์เก่า ธรรมราชศึกษา สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ องค์กรการกุศลต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ สถาบันอุดมศึกษาโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน พุทธสมาคม ยุวพุทธิกสมาคม ชมรมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นเชียงใหม่ตลอดจนถึงผู้ปกครองของนักเรียน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมสืบสานประเพณี วัฒนธรรม

1.9 ตราประจำโรงเรียน
1. ก้อนเมฆ หมายถึง ความสูงส่งแห่งสถาบัน
2. ราชรถ หมายถึง เครื่องนำเราไปสู่จุดหมาย
3. สิงห์คู่ หมายถึง นักเรียนฝ่ายบรรพชิต และฝ่ายฆราวาส
4. บุษบก หมายถึง อุปกรณ์การเรียน
5. สารถี หมายถึง อุปกรณ์การเรียน
6. พระพุทธรูปในบุษบก หมายถึง พระพุทธสิหิงค์
7. ธง หมายถึง ชัยชนะเหนือคู่ต่อสู้ คือ อวิชชา
8. แส้ หมายถึง กฎระเบียบ และข้อบังคับ
9. อักษรย่อ สุ จิ ปุ ลิ หมายถึง หัวใจนักเรียน
10. วงล้อ หมายถึง ความเจริญก้าวหน้าไป



1.10 คำขวัญโรงเรียน
ขยันเรียน เพียรทำดี มีความรู้ เชิดชูสถาบัน

1.11 อักษรย่อของโรงเรียน
ธ.ศ.

1.12 ธงประจำโรงเรียน สีน้ำตาล และสีเหลือง



1.13 วันพิธีเปิดป้ายโรงเรียน วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2503

1.143 วันเปิดเรียนวันแรก วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2503

1.15 เพลงมาร์ชธรรมราชศึกษา
ธรรมราชศึกษา แหล่งวิชาชาญ
วิทยาการรุ่งเรื่องประเทืองศักดิ์ศรี เป็นแหล่งฝึกฝน
เยาวชนให้ดี ช่วยชวนชี้นำทางสร้าง
ธรรมราชศึกษา มุ่งหน้าช่วยทุกคน
ธรรมราชศึกษาฐานะพากเพียร ด้านการเรียนการเล่นเด่นกว่าใคร
พวกเราล้วนมีสามัคคีธรรม เราจะบำเพ็ญตนช่วยคนอื่น
ให้มีสุข ปราศจากทุกข์ยิ้มระรื่น หน่ายคลายคืนชื่นตลอดยอดจริง ๆ
ลูกน้ำตาลเหลืองหนุนเนื่องทุกสิ่ง มีพระสิงห์ที่สถิตย์เป็นมิ่งขวัญ
ธรรมราชศึกษาเคารพอภิวันท์ ดุจคืนวันมั่นศรัทธาสถาพร
ธรรมราชศึกษาฐานะเฟื่องเก่าก่อน ทั้งอุปกรณ์พร้อมสรรพ์ทันสมัย
ธรรมราชศึกษาสถาบันยิ่งใหญ่ ประเทศไทยได้คนดีมีวิชา
การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา / คณะกรรมการนักเรียน
คณะกรรมการการศึกษา
โรงเรียนธรรมราชศึกษาได้แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาของโรงเรียนจำนวน 4 คณะ ซึ่งมาจากบุคคลต่าง ๆ ในชุมชนได้ร่วมปรึกษาหารือในการปฏิบัติงานของโรงเรียนพอสรุปได้ดังนี้

1. คณะกรรมการอำนวยการโรงเรียน
1. พระธรรมสิทธาจารย์ ผู้รับใบอนุญาต ประธานกรรมการ
2. พระสิงหวิชัย ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต รองประธาน
3. พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์ ผู้จัดการ กรรมการ
4. นายสวัสดิ์ อินแถลง ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ
5. พระครูอาทรวิสุทธิคุณ ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ
6. พระครูวิธานวรกิจ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
7. ดร.ศุภวัตร ภูวกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
8. นายสุทัศน์ วัฒนพูน ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ
9. พ.อ.นเรศร์ จิตรักษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
10. พ.ต.อ. ปรีชา เสนากุล ผู้แทนศิษยิ์เก่า กรรมการ
11. นายมานพ ปิยะวงค์ ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ
12. นายสา ดาทอง ผู้แทนครู กรรมการ
13. นายสง่า นันทะกาญจน์ ครูใหญ่ กรรมการเลขานุการ

2. คณะผู้บริหารโรงเรียน
1. พระธรรมสิทธาจารย์ ผู้รับใบอนุญาต
2. พระสิงหวิชัย ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต
3. พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์ ผู้จัดการ
4. พระครูสิริธรรมโฆษิต ผู้ช่วยผู้จัดการ
5. นายศิริพงษ์ มะโนเกี๋ยง ผู้ช่วยผู้จัดการ
6. นายสง่า นันทะกาญจน์ ครูใหญ่
7. พระมหาธนกฤต สิงห์มี ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายบริการ
8. พระมหาเดช ทรงจิตร ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายกิจการนักเรียนบรรพชิต
9. นายสนิท ภิระตา ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายกิจการนักเรียนคฤหัสถ์
10. นายสังวร ฟองคำ ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายธุรการ
11. พระมหาจำลอง พรมเสน ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายวิชาการ
ตารางแสดง จำนวนครั้งและสาระการประชุมในรอบปี
คณะกรรมการ
จำนวนครั้ง
เนื้อหา
คณะกรรมการอำนวยการ
คณะผู้บริหารโรงเรียน
คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู
คณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่า
1
40
-
4
แผนปฏิบัติการประจำปี 2550
การบริหารงานทั่วไปภายในโรงเรียน
-
การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของสมาคมศิษย์เก่า

3. คณะกรรมการนักเรียน
1. สามเณรภานุพงษ์ จันต๊ะดา ประธานนักเรียน
2. สามเณรสุริยงค์ จูเปาะ หัวหน้าฝ่ายประดับตกแต่ง
3. สามเณรนภดล ธิตั้ง รองหัวหน้าฝ่ายประดับตกแต่ง
4. สามเณรสมศักดิ์ กาบคำ เลขานุการฝ่ายประดับตกแต่ง
5. สามเณรเกรียงศักดิ์ คำสุกร กรรมการฝ่ายประดับตกแต่ง
6. สามเณรภรศักดิ์ สันสอน กรรมการฝ่ายประดับตกแต่ง
7. สามเณรเอกรินทร์ อินวิน กรรมการฝ่ายประดับตกแต่ง
8. สามเณรภาณุพงษ์ เจริญเดช กรรมการฝ่ายประดับตกแต่ง
9. สามเณรนที พนิชพิทยาธร กรรมการฝ่ายประดับตกแต่ง
10. สามเณรธนาวิทย์ อินดนตรี กรรมการฝ่ายประดับตกแต่ง
11. สามเณรอาทิตย์ ฟองแก้ว หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์
12. นายกรกฎ รัชชภูมิ รองหัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์
13. สามเณรวิชากรณ์ แก้วตุ้ย กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์
14. สามเณรอดิเรก ใจหล้า กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์
15. สามเณรวรชัย กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์
16. นายณัฐพล ศรีวิชัย กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์
17. สามเณรปรีชา เลาหาง กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์
18. สามเณรวีระศักดิ์ สายกุณา หัวหน้าฝ่ายจัดทำ
19. นายธนชัย จันต๊ะวงค์ รองหัวหน้าฝ่ายจัดทำ
20. นายสุรัตน์ อินทกุล เลขานุการฝ่ายจัดทำ
21.นายสมเกียรติ ปารมี กรรมการฝ่ายจัดทำ
22. สามเณรโกวิท แก้วโกมล กรรมการฝ่ายจัดทำ
23. สามเณรนภดล เจ้าเลห์ดี กรรมการฝ่ายจัดทำ
24. สามเณรพิพัฒน์ มณีเดชากุล กรรมการฝ่ายจัดทำ
25. สามเณรวุฒิไกร ชัยว่อน กรรมการฝ่ายจัดทำ
26. นายพร้อมพงค์ ตาอ้าย กรรมการฝ่ายจัดทำ
27. นายวสันต์ อุ่นแก้ว กรรมการฝ่ายจัดทำ
28. สามเณรปริญญา จันทะมงคล หัวหน้าฝ่ายศาสนพิธี
29. สามเณรปรัชญา หม่องเชย รองหัวหน้าฝ่ายศาสนพิธี
30. สามเณรขจรศักดิ์ คำมา กรรมการประจำพระวิหารหลวง
31. พระวสันต์ ปัญญามณี กรรมการประจำพระวิหารหลวง
32. สามเณรเกษม อินต๊ะยศ หัวหน้าสารวัตรนักเรียนบรรพชิต
33. สามเณรสุรพล ทิศลังกา สารวัตรนักเรียน
34. สามเณรเทพเทวัญ เทพปัญญา สารวัตรนักเรียน
35. สามเณรปิยพงษ์ สมบุญ สารวัตรนักเรียน
36. สามเณรสถิต โพธิ์หล้า สารวัตรนักเรียน
37. นายศุภวิทย์ สิงคเนตร หัวหน้าสารวัตรนักเรียนคฤหัสถ์
38. นายเมธี สมาทาน สารวัตรนักเรียน
37. นายประวิทย์ แดงสด สารวัตรนักเรียน
38. นายอดิศร กาไชย สารวัตรนักเรียน
39. นายสถาพร จันทร สารวัตรนักเรียน
40. นายเอกรัตน์ อุ่นนันกาศ สารวัตรนักเรียน
41. นายเจริญ เทพทอง สารวัตรนักเรียน

2. สถิติข้อมูลครู บุคลากรโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2550

ตารางแสดงสถิติจำนวนครู-บุคลากร ทั้งหมด
ที่
ประเภทบุคลากร
บรรพชิต
ชาย
หญิง
รวม
1
ฝ่ายบริหาร
6
4
-
10
2
ครูประจำ
7
20
18
45
3
ครูอัตราจ้าง
3
5
2
10
4
ข้าราชการครูปฏิบัติงาน
-
-
-
-
5
นักศึกษาฝึกสอน
2
-
-
2
6
เจ้าหน้าที่บัญชี
-
-
1
1
7
เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
-
-
1
1
8
นักการภารโรง
-
3
-
3
9
พนักงานขับรถ
-
1
-
1
รวม
17
32
22
73

ตารางแสดงจำนวนครูผู้สอน แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่
กลุ่มสาระการเรียนรู้
บรรพชิต
ชาย
หญิง
รวม
1
ครูใหญ่
-
1
-
1
2
ภาษาไทย
4
2
2
8
3
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
3
2
2
7
4
สุขศึกษาและพลศึกษา
-
4
1
5
5
คณิตศาสตร์
1
5
4
10
6
วิทยาศาสตร์
-
2
6
8
7
ภาษาต่างประเทศ
7
5
2
14
8
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
-
5
2
7
9
ศิลปศึกษาและดนตรี
-
1
2
3
10
แนะแนว
-
2
-
2
รวม
15
29
21
65


ตารางแสดงจำนวนครูผู้สอนแยกตามวุฒิการศึกษา

ที่
วุฒิการศึกษา
บรรพชิต
ชาย
หญิง
รวม
1
ปริญญาเอก
-
-
-
0
2
ปริญญาโท
7
1
-
8
3
ปริญญาตรี
9
27
20
56
4
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
-
-
-
0
5
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
-
-
-
0
6
มัธยมศึกษาปีที่ 6
-
-
-
0
รวม
16
28
20
65

รายชื่อบุคลากร
ผู้บริหารโรงเรียนธรรมราชศึกษา ปีการศึกษา 2550
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
1
พระธรรมสิทธาจารย์
ปธ.5, นธ.เอก
ผู้รับใบอนุญาต
2
พระสิงหวิชัย
ศน.บ./กศ.ม.
ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต
3
พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์
พธ.บ./กศ.ม.
ผู้จัดการ
4
พระครูสิริธรรมโฆษิต
ศน.บ.
ผู้ช่วยผู้จัดการ
5
นายศิริพงษ์ มะโนเกี๋ยง
ค.บ.
ผู้ช่วยผู้จัดการ
6
นายสง่า นันทะกาญจน์
ค.บ.
ครูใหญ่
7
พระมหาธนกฤต สิงห์มี
พธ.บ./กศ.ม.
ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายบริการ
8
พระมหาเดช ทรงจิตร
พธ.บ.,รบ.
ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายกิจการนักเรียนบรรพชิต
9
นายสนิท ภิระตา
พ.ม.,คบ.
ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายกิจการนักเรียนคฤหัสถ์
10
นายสังวร ฟองคำ
ค.บ./M.A.
ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายธุรการ
11
พระมหาจำลอง พรมเสน
พธ.บ./ศษ.ม.
ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายวิชาการ

ครูผู้สอนแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้

Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นางนงลักษณ์ มะลิปะทิน
ศษ.บ.
หัวหน้ากลุ่มสาระ
17
2
พระวินัยธรชัชวาล ไชยวัง
ศน.บ./กศ.ม.
ครูสอน
19
3
พระปลัดรักษ์ แปงจันทร์เขียว
ศน.บ.
ครูสอน
20
4
นายศิริพงษ์ มะโนเกี๋ยง
คบ.
ครูสอน
11
5
นายสุภาพ บุญเรือง
คบ.
ครูสอน
18
6
นางลาวัลย์ ยากรณ์
คบ.
ครูสอน
21
7
พระปลัดรักษ์ แปงจันทร์เขียว
ศน.บ./ศศ.ม.
ครูสอน
19
8
พระกฤษณะภัค ธายะนา
ศน.บ./ศศ.ม.
ครูสอน
20

Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นางสาวยุพิน ราษีสิทธิ์
คบ.
หัวหน้ากลุ่มสาระ
13
2
พระมหาจำลอง พรมเสน
พธ.บ./ศษ.ม.
ครูสอน
7
3
พระมหาธนกฤต สิงห์มี
พธ.บ./กศ.ม.
ครูสอน
8
4
พระมหาอำนวย สินชัย
พธ.บ.
ครูสอน
17
5
นายสุภาพ สุดแสงตา
พธ.บ.
ครูสอน
18
6
นายดำรง เข็มเพชร
คบ.
ครูสอน
18
7
นางนงลักษณ์ คำผาลา
คบ.
ครูสอน
17

Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นายสมชาย บุญลอย
วท.บ.
หัวหน้ากลุ่มสาระ
13
2
นายเกรียงไกร บุญเลิศ
วท.บ.
ครูสอน
17
3
นายสกนวรรณ ใจแก้ว
วท.บ.
ครูสอน
16
4
นายคำแสน กันทะโน
คบ.
ครูสอน
17
5
นางสกาวเดือน รัตต๊ะใส
คบ
ครูสอน
6

Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นายเฉลิม พรมมา
คบ.
หัวหน้ากลุ่มสาระ
15
2
นายสา ดาทอง
คบ.
ครูสอน
19
3
พระครูสิริธรรมโฆษิต
ศน.บ.
ครูสอน
13
4
นายสง่า นันทะกาญจน์
คบ.
ครูสอน
2
5
นางสาวอุษา กันทะวงศ์
คบ.
ครูสอน
19
6
นางสาวศศิเนตร กาละวัง
คบ.
ครูสอน
20
7
นายพิษณุ พลอยศรี
คบ.
ครูสอน
20
8
นางสาวจันทร์ทิพย์ สะตอง
คบ.
ครูสอน
20
9
นายกาหลงทอง คชอาจ
คบ.
ครูสอน
20
10
นางสาวสุพัตรา จันแก้ว
คบ.
ครูสอน
20

Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นางนิภาภัทร ทองเงา
คบ.
หัวหน้ากลุ่มสาระ
14
2
นางศรีวรรณ เรียนแพง
คบ.
ครูสอน
15
3
นางกาญจนา อินถอด
คบ.
ครูสอน
17
4
นางสาวประภาภรณ์ ลังกาสิทธิ์
คบ.
ครูสอน
19
5
นางสาวขวัญจิตร จิโน
คบ.
ครูสอน
17
6
นายราชัน ดวงศิริ
คบ.
ครูสอน
18
7
นางสาวจิรัชยา มหาวรรณ์
คบ.
ครูสอน
18
8
นายอาทิตย์ หน่อคำมา
คบ.
ครูสอน
19
Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปศึกษาและดนตรี
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นางสาวอัจฉรา วงค์คำแดง
คบ.
หัวหน้ากลุ่มสาระ
19
2
นางสาวพิมลรัตน์ แสนคำ
คบ.
ครูสอน
22
3
นายเจษฎาพันธ์ ธัญญาจุฑารัตน์
คบ.
ครูสอน
21
Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
พระมหาแสงจันทร์ พรมลี
พธ.บ./ศศ.ม.
ครูสอน
16
2
นายสังวร ฟองคำ
คบ./MA.
ครูสอน
8
3
พระมหาวุฒิศักดิ์ ศรีรักษา
พธ.บ.
ครูสอน
17
4
พระมหาวัชรพล สิทธิกัน
พธ.บ.
ครูสอน
20
5
นายปัญญา บุญเทียน
ศษ.บ.
ครูสอน
17
6
นางสาวนุชจรินทร์ แพ่งเมือง
คบ.
ครูสอน
17
7
พระมหาพนมกรณ์ นามราชา
พธ.บ.
ครูสอน
20
8
พระครูสมุห์กฤษณะ กันตีมูล
พธ.บ.
ครูสอน
17
9
พระณัชนน พัลลภประยูร
ศน.บ.
ครูสอน
18
10
นายเกรียงศักดิ์ สายลือภา
คบ.
ครูสอน
20
11
นางสาวปนัดดา ปิกวงศ์
คบ.
ครูสอน
15
12
นายสมชาย วงศ์สุธางรัตน์
คบ.
ครูสอน
13
13
พระมหาเดช ทรงจิตร
พธ.บ.
ครูสอน
9
14
นายอภินันท์ วรรณวิริยวัตร
คบ.
ครูสอน
5
Å กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นายสังเวียน กุณา
บธบ.
หัวหน้ากลุ่มสาระ
15
2
นายสนิท ภิระตา
พ.ม., คบ.
ครูสอน
9
3
นายนภดล ยุกตะบุตร
คบ.
ครูสอน
16
4
นายจิรพงค์ บุญเรือง
ศศ.บ.
ครูสอน
20
5
นางสาวเพลินพิศ กองเงิน
บธ.บ.
ครูสอน
19
6
นายอัครพล จันทะมา
บธบ.
ครูสอน
20
7
นางสาวพรทิพย์ มูลมาวัน
บธบ.
ครูสอน
6

Å ครูกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (แนะแนว)
ที่
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคาบสอน
1
นายจักรพันธ์ อินทร์มงคล
คบ.
แนะแนว
16
2
นายเกษม ดวงวรรณา
คบ.
แนะแนว
17

อัตราเงินเดือนของบุคลากรในสถานศึกษา
ตำแหน่ง
จำนวนคน
อัตราเงินเดือนโดยเฉลี่ย
1. ผู้บริหาร
2. ครูผู้สอน (ประจำ)
3. ครูผู้สอน (พิเศษ)
4. นักการและพนักงานขับรถ
9
46
11
4
15,039.-
11,273.-
8,571.-
6,123.-
สถานศึกษาได้จัดการการขึ้นเงินเดือนหรือให้กำลังใจกับบุคลากรตามวุฒิการศึกษาที่บรรจุเป็นครูและขึ้นเงินเดือนทุกปีและใช้เกณฑ์ของโรงเรียนเอกตามสภาพเศรษฐกิจ

การพัฒนาบุคลากร จำนวนครู ที่ได้รับการพัฒนา
กิจกรรมการพัฒนา
จำนวน (รูป/คน)
คิดเป็นร้อยละ
การนำมาใช้จริง
พัฒนาด้านวิชาการ
พัฒนาด้วยกิจกรรม
พัฒนาด้านจริยธรรม
พัฒนาด้วนความปลอดภัย
พัฒนาด้านสุขาภิบาล
65
65
65
65
65
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
รวม
65
100.00
100.00
โรงเรียนได้ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมสัมมนาตามความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะนำมาพัฒนาโรงเรียนต่อไป

3. สารสนเทศด้านผู้เรียน
3.1 ตารางแสดงจำนวนนักเรียนทั้งหมดแยกตามสถานะ

ที่
นักเรียน
จำนวน รูป/คน
1
บรรพชิต
773
2
คฤหัสถ์
377
รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด
1,150
ข้อมูล….เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2550

3.2 จำนวนนักเรียนแยกตามระดับชั้น

ที่
นักเรียน
มัธยมศึกษาตอนต้น
จำนวน รูป/คน
มัธยมศึกษาตอนปลาย
จำนวน รูป/คน
1
บรรพชิต
479
294
2
คฤหัสถ์
171
206
รวม
650
500

ข้อมูล….เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2550
3.3 ตารางแสดงอาชีพผู้ปกครอง ประจำปีการศึกษา 2550
ระดับชั้น
อาชีพผู้ปกครอง
รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
นักธุรกิจค้าขาย
เกษตรกร
รับจ้าง
อื่น ๆ
รวม
มัธยมศึกษาปีที่ 1
6
0
12
20
128
68
234
มัธยมศึกษาปีที่ 2
8
0
12
22
98
63
203
มัธยมศึกษาปีที่ 3
8
1
8
17
100
82
216
มัธยมศึกษาปีที่ 4
1
0
14
48
53
45
161
มัธยมศึกษาปีที่ 5
3
0
4
46
60
55
168
มัธยมศึกษาปีที่ 6
3
2
8
45
59
53
170
รวมทั้งหมด
29
3
58
198
498
366
1,152
ข้อมูล….เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2550

3.4 ตารางแสดงรายได้ของผู้ปกครอง ประจำปีการศึกษา 2550
ระดับชั้น
รายได้ผู้ปกครอง
ต่ำกว่า 150,000
150,000-300,000
มากกว่า 300,000
ม.1
234
0
0
ม.2
203
0
0
ม.3
216
0
0
ม.4
161
0
0
ม.5
168
0
0
ม.6
170
0
0
รวมทั้งหมด
1,152
0
0
ข้อมูล….เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2550

3.5 ตารางแสดงจำนวนนักเรียนทั้งหมดแยกตามเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา
ระดับชั้น
จำนวนนักเรียน
เชื้อชาติ/สัญชาติ
ศาสนา
บรรพชิต
ชาย
รวม
คิดเป็นร้อยละ
ไทย
อื่น ๆ
พุทธ
คริสต์
อิสลาม
ฮินดู
ซิกส์
ม. 1
164
56
220
19.75
220
-
220




ม. 2
143
48
191
19.48
191
-
191




ม. 3
129
88
217
13.91
217
-
217




ม. 4
96
59
155
14.09
155
-
154

1


ม. 5
88
69
157
15.62
157
-
157




ม. 6
86
88
174
15.62
174
-
174




รวม
706
408
1,114
98.47
1,114
-
1,113

1


ข้อมูล….เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551

ข้อมูลด้านร่างกาย สุขภาพ สุขนิสัย
จำนวนสถิติการให้บริการต่าง ๆ ใน ปีการศึกษา 2550
รายการ
จำนวนผู้รับบริการ
คิดเป็นร้อยละ
หมายเหตุ
งานอนามัยโรงเรียน
1. ตรวจสุขภาพประจำปี
- ตรวจสุขภาพนักเรียน (100 คน)


100


100.00


สถิติการใช้ห้องพยาบาลของโรงเรียน
ประเภทที่ใช้บริการ
จำนวนผู้ใช้บริการ
ผู้บริหาร(10 รูป/คน)
ครู
(56 รูป/คน)
นักการ(4 คน)
นักเรียน(1,152 รูป/คน)
1. ปวดศีรษะ
-
3
-
122
2.ไข้
-
3
-
24
3. ไข้หวัด
-
1
-
15
4. คออักเสบ
-
-
-
-
5. ไอ
-
2
-
5
6. โรคกระเพาะอาหาร
-
-
-
9
7. จุกเสียดแน่นท้อง
1
-
-
31
8. ท้องเสีย
-
2
-
7
9. แผลเรื้อรัง
-
-
-
-
10. เคล็ดบวม
-
-
-
-
11. ผดผื่นคัน
-
-
-
3
12. แผลสด
-
-
-
11
13. แมลงกัดต่อย
-
-
-
15
14. อื่น ๆ
-
2
1
1
รวม
1
13
1
243
คิดเป็นร้อยละ
10.00
23.21
25.00
21.09
ข้อมูล ณ. เดือนมิถุนายน – กันยายน 2550




จากตารางสถิติการใช้ห้องพยาบาลของโรงเรียน พบว่า ผู้ที่เข้าใช้บริการแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 คือ ผู้บริหาร จำนวน 10 รูป/คน จากสถิติพบว่า เข้าใช้บริการ 1 ครั้ง คือ จุกเสียดแน่นท้อง คิดเป็นร้อยละ 10.00
กลุ่มที่ 2 คือ ครู จำนวน 56 รูป/คน จากสถิติพบว่า เข้าใช้บริการ 13 ครั้ง โดยมีอาการปวดศีรษะ และเป็นไข้ รวมกันจำนวน 6 ครั้ง รองลงมา มีการไอ และท้องเสีย จำนวน 2 ครั้งและ มีอาการไข้หวัดจำนวน 1 ครั้ง โดยคิดเป็นร้อยละ 23.21
กลุ่มที่ 3 คือ นักการภารโรงและพนักงานขับรถ จำนวน 4 คน จากสถิติพบว่า เข้าใช้บริการ 1 ครั้ง คือ คิดเป็นร้อยละ 25.00
กลุ่มที่ 4 คือ นักเรียน จำนวน 1,152 รูป/คน จากสถิติพบว่า เข้าใช้บริการ 243 ครั้ง โดยมีอาการปวดศีรษะมากที่สุด คือ 122 ครั้ง โดยการใช้สถิติของนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 21.09

จำนวนของผู้เรียนที่จบหลักสูตรแล้วศึกษาต่อประกอบอาชีพและอื่น ๆ
ระดับชั้น
ปีการศึกษา 2549
หมายเหตุ
ศึกษาต่อ
ประกอบอาชีพ
อื่น ๆ
จำนวน
คิดเป็น
ร้อยละ
จำนวน
คิดเป็น
ร้อยละ
จำนวน
คิดเป็น
ร้อยละ
ม. 3
154
100.00
-
-
-
-

ม. 6
134
100.00
-
-
-
-

รวม
288
100.00
-
-
-
-


3.5 ตารางแสดงสถิติการศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาอื่น ๆ

ตารางแสดงจำนวนการเข้าศึกษาต่อสถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ประจำปีการศึกษา 2550
สถาบัน
จำนวนนักเรียน
ชั้น ม.6/1
ชั้น ม.6/2
ชั้น ม.6/3
ชั้น ม.6/4
ชั้น ม.6/5
ชั้น ม.6/6
มหาวิทยาลัย (ป.ตรี)
14
20
10
19
5
11
อาชีวะ (ปวส.)
-
-
-
-
-
-
รวม
14
20
10
19
5
11
ข้อมูล ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551

ตารางแสดงรายละเอียดการเข้าศึกษาต่อสถาบันอุดมศึกษา (ประเภทโควตา) ประจำปีการศึกษา 2550
ที่
ชื่อ - สกุล
ชั้น
สาขาวิชา
คณะ
สถาบัน
1
นายถาวร ใจยะเสน
6/1
กายภาพบำบัด
เทคนิคการแพทย์
ม. เชียงใหม่
2
นายกสิน รักเมืองไพร
6/1
วิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาศาสตร์
ม. เชียงใหม่
3
นายฉัตรชัย แสงพานิช
6/1
ศิลปะไทย
วิจิตรศิลป์
ม. เชียงใหม่
4
สามเณรสิทธิชัย นิยมไพรคีรี
6/4
เทคโนโลยีการบรรจุ
อุตสาหกรรมเกษตร
ม. เชียงใหม่
5
สามเณรพิทวัส แซ่ว่าง
6/6
ภาษาญี่ปุ่น
มนุษยศาสตร์
ม. เชียงใหม่
6
นายทวีศักดิ์ โด้คำ
6/1
วิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาศาสตร์
ม. แม่โจ้
7
สามเณรธิติภพ ยาลังกา
6/2
วิศวกรรมเกษตร
วิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ม. แม่โจ้
8
สามเณรมนัส วุฒิคุณ
6/2
พืชศาสตร์(พืชสวน)
เกษตรศาสตร์
ม. แม่โจ้
9
สามเณรเกียรติกุล สิงห์สุริยะ
6/2
เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาศาสตร์
ม. แม่โจ้
10
สามเณรเฉลิมพล ลือคำ
6/4
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
ม. แม่โจ้
11
สามเณรเฉลิมชัย หลีทำ
6/4
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
ม. แม่โจ้
12
นายรัฐพันธ์ กันทา
6/1
เทคโนโลยีชีวภาพ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. แม่โจ้
13
นายมงคลศักดิ์ หลานจีนา
6/1
สัตวศาสตร์
ผลิตกรรมการเกษตร
ม. แม่โจ้
14
สามเณรสุวัฒน์ ไชยนวล
6/6
พัฒนาการท่องเที่ยว
พัฒนาการท่องเที่ยว
ม. แม่โจ้
15
สามเณรณรงค์ศักดิ์ แปงงา
6/6
พัฒนาการท่องเที่ยว
พัฒนาการท่องเที่ยว
ม. แม่โจ้
16
สามเณรไกรวิทย์ ใจดี
6/4
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ม. แม่โจ้
17
สามเณรพุฒิพงษ์ ศรีบุญยวง
6/4
สารสนเทศทางธุรกิจ
บริหารธุรกิจ
ม. แม่โจ้
18
สามเณรสุทธิพงษ์ ไทยใหม่
6/4
สารสนเทศทางธุรกิจ
บริหารธุรกิจ
ม. แม่โจ้
19
นายเจนณรงค์ เพ็ญเต็มดวง
6/3
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
ม. แม่โจ้
20
นายนิรันดร์ ทิม
6/3
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
ม. แม่โจ้
21
นายโยธิน กมลฤทัยกุล
6/3
พัฒนาการท่องเที่ยว
พัฒนาการท่องเที่ยว
ม. แม่โจ้
22
ส.ณ.โชคชัย อัศวโชติช่วงกุล
6/4
เทคโนโลยีการพิมพ์

ม. เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
23
นายรณชัย อินตาพรม
6/1
สาธารณสุชศาสตร์
สหเวชศาสตร์
ม. นเรศวร(พะเยา)
24
นายวีรพงษ์ คำนิมิตร
6/1
เทคนิคการแพทย์
สหเวชศาสตร์
ม. นเรศวร(พะเยา)
25
นายเกษมสันต์ เขียวแก้ว
6/1
วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมศาสตร์
ม. นเรศวร(พะเยา)
26
สามเณรอภิกุล หลักมั่น
6/2
กายภาพบำบัด
เทคนิคการแพทย์
ม. นเรศวร(พะเยา)
27
นายธิติภพ ยาลังกา
6/2
เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
28
นายทศพล สมยศ
6/2
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
29
นายเธียรนเรนทร์ อัมพรธารา
6/6
ภาษาจีน
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
30
นายสมเกียรติ รักพงษ์ไพร
6/4
นิติศาสตร์
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
31
นายพิสิษฐ์ วิเศษคุณ
6/3
นิติศาสตร์
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
32
นายสมพล เกษมพิริยะกุล
6/5
ภาษาญี่ปุ่น
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
33
สามเณรพิทวัส แซ่ว่าง
6/6
ภาษาญี่ปุ่น
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
34
สามเณรมนัส วุฒิคุณ
6/2
เกษตรศาสตร์
เทคโนโลยีการเกษตร
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
35
สามเณรพรชัย เลาหาง
6/6
ภาษาเกาหลี
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
36
นายรัฐวิทย์ ยิ่งรักษ์เพ็ญจันทร์
6/5
ภาษาเกาหลี
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
37
สามเณรวสันต์ สารตัน
6/2
โปรแกรมและการรักษาความปลอดภัยบนเวป
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
38
นายนพดล ธงรัก
6/3
บริหารรัฐกิจ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
39
สามเณรธารา เรือนแก้ว
6/2
วัฒนธรรมศึกษา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
40
สามเณรพงศธร พันธุ
6/2
วัฒนธรรมศึกษา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
41
นายวีระศักดิ์ สายกุณา
6/2
คหกรรมศาสตร์(ศิลปประดิษฐ์)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
42
สามเณรสมศักดิ์ กาบคำ
6/4
เศรษฐศาสตร์
วิทยาการจัดการ
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
43
นายเจนณรงค์ เพ็ญเต็มดวง
6/3
เศรษฐศาสตร์
วิทยาการจัดการ
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
44
นายสิทธิโชค ดาราวงษ์
6/3
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
วิทยาการจัดการ
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
45
นายกิตติพจน์ บุญยัง
6/3
จิตวิทยา(จิตวิทยาองค์การ)
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
46
นายเอกพจน์ เป็งคำ
6/3
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
วิทยาการจัดการ
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
47
นายชาญชัย เทพจันทร์
6/5
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาการจัดการ
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
48
สามเณรเฉลิมชัย หลีทำ
6/4
นิติศาสตร์
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
49
สามเณรเฉลิมพล ลือคำ
6/4
ภาษาอังกฤษธุรกิจ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
50
สามเณรปรีชา เลาหาง
6/2
สาธารณสุขศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
51
สามเณรอภิชาติ ชัยมัง
6/2
สัตวศาสตร์
เทคโนโลยีการเกษตร
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
52
สามเณรไกรวิทย์ ใจดี
6/4
บริหารรัฐกิจ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
53
สามเณรสุชาติ ชำเนียรไพร
6/4
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
54
สามเณรนัฐพงษ์ ปันใจแก้ว
6/4
ภาษาอังกฤษ
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
55
สามเณรเสกสรรค์ สิธิวัน
6/4
สังคมศึกษา
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
56
สามเณรสุทธิพงศ์ ไทยใหม่
6/4
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
57
สามเณรรพีพจน์ หงษ์ผา
6/4
ภาษาไทย
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
58
สามเณรศุภชัย สิริพยาบาล
6/4
ประถมศึกษา
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
59
นายนิรันดร์ ทิม
6/3
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
วิทยาการจัดการ
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
60
นายสุริยศักดิ์ ป้อศรี
6/1
นิติศาสตร์
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
61
นายภัทรกร สมบัติ
6/5
ภาษาอังกฤษธุรกิจ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
62
นายศรายุทธ หน่อคอ
6/5
ภาษาเกาหลี
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
63
นายวีรยุทธ ปันเรือน
6/1
โปรแกรมและการรักษาความปลอดภัยบนเว็บ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
64
นายส่งศักดิ์ บ้านเรือน
6/1
วิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
65
สามเณรนพดล ธิตั้ง
6/2
คหกรรมศาสตร์(อาหารและโภชนาการ)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
66
สามเณรอภิกุล หลักมั่น
6/2
สาธารณสุขศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
67
นายทวีศักดิ์ โด้คำ
6/1
สัตวศาสตร์
เทคโนโลยีการเกษรตร
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
68
สามเณรสุวรรณ ปู่ผัด
6/4
ภาษาอังกฤษ
ครุศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
69
สามเณรบรรจง ปัญญาดี
6/2
เกษตรศาสตร์
เทคโนโลยีการเกษตร
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
70
นายเอกรัตน์ อุ่นนันกาศ
6/1
เกษตรศาสตร์
เทคโนโลยีการเกษตร
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
71
สามเณรเกียรติกุล สิงห์สุริยะ
6/2
โปรแกรมและการรักษาความปลอดภัยบนเว็บ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม. ราชภัฏเชียงใหม่
72
สามเณรทศพล สมยศ
6/2
สาธารณสุขศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
73
สามเณรภานุพงษ์ จันต๊ะดา
6/2
สาธารณสุขศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
74
สามเณรสุทธิพงษ์ ขุนน้ำ
6/2
สาธารณสุขศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
75
ส.ณ.เธียรนเรนทร์ อัมพรธารา
6/6
ภาษาจีน
มนุษยศาสตร์และสัมคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
76
สามเณรสุทธิชัย จันสี
6/6
ภาษาจีน
มนุษยศาสตร์และสัมคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
77
สามเณรพรชัย เลาหาง
6/6
ภาษาจีน
มนุษยศาสตร์และสัมคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
78
สามเณรนิติพล เลาย้าง
6/6
ภาษาจีน
มนุษยศาสตร์และสัมคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
79
นายพิพัฒน์ ยิ่งวิทยาคุณ
6/6
ภาษาญี่ปุ่น
มนุษยศาสตร์และสัมคมศาสตร์
ม. ราชภัฏเชียงราย
ข้อมูล ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551

ตารางแสดงจำนวนการส่งนักเรียนเข้าร่วมแข่งขันกิจกรรม จากหน่วยงานต่าง ๆ แยกตามกลุ่มสาระ
กลุ่มสาระ
จำนวนครั้งที่ส่ง
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
1
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
6
กลุ่มสาระภาษาไทย
11
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
9
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
5
กลุ่มสาระศิลปะและดนตรี
11
กลุ่มสาระสุขศึกษา พลศึกษา
-
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
3
รวม
46

3.6 รายละเอียด ผลงานดีเด่น และความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ลำดับ
วันที่
รายการ/ชื่องาน
หน่วยงาน สถานที่จัด
หมายเหตุ
1
9 ก.พ. 2550
แข่งขันทักษะวิชาการ ด้านคอมพิวเตอร์

- เข้าร่วมแข่งขันทักษะโปรแกรม Microsoft word ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
- เข้าร่วมแข่งขันทักษะโปรแกรม Microsoft word ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
- เข้าร่วมแข่งขันทักษะโปรแกรม Microsoft Excel ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
- เข้าร่วมแข่งขันทักษะโปรแกรม Microsoft Excel ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย



โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี จ.เชียงใหม่
อ.อัครพล จันทะมา อ.สังเวียน กุณา เป็นผู้รับผิดชอบ
ส.ณ.ธนวัจน์ บุญหมื่น


ส.ณ.ธันวา ลอแก้ว
ส.ณ.ณัฐพล วงค์เขื่อนแก้ว

ด.ช.นโรดม ปัญญาน้อย


ส.ณ.ทักษิณัตร พงษ์ตัน
ส.ณ.สุวัฒน์ ไชยนวล
ลำดับ
วันที่
รายการ/ชื่องาน
หน่วยงาน สถานที่จัด
หมายเหตุ
2
29ส.ค.2550
โครงการตอบปัญหาทักษะวิชาการ กลุ่มโรงเรียนเอกชน จ.เชียงใหม่

- เข้าร่วมแข่งขันจัดทำเอกสาร ด้วยโปรแกรม Microsoft word
- ชนะเลิศการร้อยมาลัยข้อมือ


- ชนะเลิศการทำบายศรีแต่งงาน



- ชนะเลิศอันดับ 2 การจัดพุ่มดอกไม้บนโต๊ะประชุม

- เข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาชีพการบัญชี




โรงเรียนพณิชยการเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
โรงเรียนเชียงใหม่บริหารธุรกิจนานาชาติ จ.เชียงใหม่
โรงเรียนเชียงใหม่บริหารธุรกิจนานาชาติ จ.เชียงใหม่



โรงเรียนเชียงใหม่บริหารธุรกิจนานาชาติ จ.เชียงใหม่

โรงเรียนพณิชยการลานนา จ.เชียงใหม่
อ.อัครพล จันทะมา อ.พรทิพย์ มูลมาวัน และ อ.เพลินพิศ กองเงิน เป็นผู้รับผิดชอบ
นายนโรดม ปัญญาน้อย

ส.ณ. สุริยงค์ จูเปาะ ส.ณ. สมศักดิ์ กาบคำ
ส.ณ. นภดล ธิตั้ง
ส.ณ.ศิตวภัทร์ ปัญญาเจริญ ส.ณ.อนุพงษ์ อินทะวงค์ และส.ณ.จักรพงษ์ มะโนคำ

นายฉัตรชัย แสงพาณิช
นายภานุมาศ สังข์บุญ
นายณัฐพล ศรีวิชัย

นายเอกลักษณ์ มีชัย












กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

ที่
ว / ด/ ป
รายการ/ กิจกรรม
หน่วยงาน / สถานที่จัด
รายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วม
1.
16 มิ.ย. 2550
แข่งขันจรวดขวดน้ำ ระดับประเทศ ครั้งที่ 6
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่
นายอดิศร กาไชย
นายเสกสรร คำโด
นายวีรยุทธ ปันเรือน
นายส่งศักดิ์ บ้านเรือน
นายเจษฎา มหาชัย
นายเมธี สมาทาน
นายเจริญ เทพทอง
นายสถาพร จันทร
2
2 ส.ค. 2550
ร่วมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติประจำปี 2550 ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 1
1. การประกวดวาดภาพจินตนาการทางวิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศีกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศีกษาตอนปลาย
2. การแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


ระดับมัธยมศีกษาตอนปลาย

3. การแข่งขันกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศีกษาตอนต้น

ระดับมัธยมศีกษาตอนปลาย

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย






ส.ณ.ไกรสร สายลือพา
ส.ณ.นิติพล เลาย่าง


ส.ณ.ณัฐพงษ์ ขันแก้วมิ่ง
ส.ณ.อรรถสิทธิ์ วีระพงษ์

นายถาวร ใจยะเสนนายธีรวัฒน์ อินตุ่น


ส.ณ.ฉันท์ชนก เชิดชิด
ส.ณ.พรเทวา ปัญญาเพื่อน
ส.ณ.อภิกุล หลักมั่น
นายรณชัย อินตาพรม
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

ที่
ว / ด/ ป
รายการ/ กิจกรรม
หน่วยงาน / สถานที่จัด
รายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วม
3
24 ส.ค. 2550
การแข่งขันตอบปัญหาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1

เข้าร่วมการแข่งขันประกอบชุดหุ่นยนต์ ROBO BOX
โรงเรียนเทคโนโลยีเอเชีย
ส.ณ.ณัฐพงษ์ ขันแก้วมิ่ง
ส.ณ.อรรถสิทธิ์ วีระพงษ์
ส.ณ.ฉันท์ชนก เชิดชิด

นายสุทัศน์ เกริกเกียรติปรีดา
นายสันติพงษ์ ฐิติธนัญญา
นายนาวาพล สมวัน
4
16 – 18 ส.ค.
เข้าร่วมกิจกรรมงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ส่วนภูมิภาค โดยได้จัดส่งโครงงานเข้าร่วมประกวดจำนวน 4 โครงงาน

1. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ชื่อโครงงาน การกำจัดยุงด้วยดอกเบญจมาศ



2. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชื่อโครงงาน เครื่องตัดหญ้าพลังงานแสงอาทิตย์



3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชื่อโครงงาน เครื่องเงินขัดขาวด้วยสมุนไพรไทย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่





ส.ณ.มงคล ก๋องตาส.ณ.ธีรัช ชางส่วน
ส.ณ.เจตณรงค์ ดำเป็ง อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางกาญจนา อินถอด

ส.ณ.ไพศาล ชัยอาภัย
ส.ณ.นิยม อินใจ
ส.ณ.วีระศักดิ์ สายกุณา
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางนิภาภัทร ทองเงา

นายเอกลักษณ์ มีชัย
นายนฤดล สิงห์คะราช
นายกฤษณเรศ ศรีเสนอ
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางนิภาภัทร ทองเงา
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

ที่
ว / ด/ ป
รายการ/ กิจกรรม
หน่วยงาน / สถานที่จัด
รายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วม






5






27-28 ส.ค. 50
4. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชื่อโครงงาน การศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรไทย



เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
- การวาดภาพทางวิทยาศาสตร์
ช่วงชั้นที่ 3
ช่วงชั้นที่ 4

- การแข่งขันเขียนเรื่องสั้นทางวิทยาศาสตร์
ช่วงชั้นที่ 3
ช่วงชั้นที่ 4
- การแข่งขันตอบปัญหาวิทยาศาสตร์
ช่วงชั้นที่ 3


ช่วงชั้นที่ 4


- การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ชื่อโครงงาน การกำจัดยุงด้วยดอกเบญจมาศ ในระดับช่วงชั้นที่ 3
- การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ชื่อโครงงาน เครื่องตัดหญ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในระดับช่วงชั้นที่ 4






โรงเรียนเชียงใหม่คริสเตียน
นายกรกฏ รัชชภูมิ นายอนุกูล ดวงต๋า
นายอนุรักษ์ รุ่นไสว
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางกาญจนา อินถอด




ส.ณ.ประชา หลุยจำวัน
ส.ณ.นิติพล เลาย่าง



ส.ณ.บุญมาโชติสกุลเลิศ
ส.ณ.เสกสรรค์ สิธิวัน
ส.ณ.ณัฐพงษ์ ขันแก้วมิ่ง
ส.ณ.อรรถสิทธิ์ วีระพงษ์
ส.ณ.ฉันท์ชนก เชิดชิด
นายถาวร ใจยะเสน
นายธีรวัฒน์ อินตุ่น
นายวีระพงษ์ คำนิมิต
ส.ณ.มงคล ก๋องตา
ส.ณ.ธีรัช ชางส่วน
ส.ณ.เจตณรงค์ ดำเป็ง
ส.ณ.ไพศาล ชัยอาภัย
ส.ณ.นิยม อินใจ
ส.ณ.วีระศักดิ์ สายกุณา
กลุ่มสาระศิลปะ

ที่
ว / ด/ ป
รายการ/ กิจกรรม
หน่วยงาน / สถานที่จัด
นักเรียน / ครู
1.
20มิ.ย50
ประกวดวาดภาพเฉลิมพระเกียรติ ฯ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 1
- ส.ณ ไกรสร สายลือภา เข้าร่วมแข่งขัน
- อ.เจษฏาพันธ์ ผู้ฝึกสอน
2.
29ก.ค50
โครงการประกวดวาดภาพระบายสี
Horse อะวอร์ด
บริษัท นานมี จำกัด
รอบคัดเลือกที่ ร.ร. มงฟอร์ต (มัธยม)
-ส.ณ.ไกรสร สายลือภา
-ส.ณ.ประชา หลุยจำวัน
- ส.ณ. บุญทวี ประดิษฐ์ เข้าร่วมแข่งขัน
-อ.เจษฏาพันธ์ ผู้รับผิดชอบ
3.
27ก.ค50
การประกวดศิลปกรรมเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 2
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
กรมศิลปากร
- ส.ณ.ประชา หลุยจำวัน ระดับม.ต้น
- อ.อัจฉรา ผู้ฝึกสอน
- ส.ณ. นิติพล เลาย้าง ระดับม.ปลาย
อ.เจษฏาพันธ์ ผู้ฝึกสอน
4.







2ส.ค.50
การแข่งขันวาดภาพจินตนาการวิทยาศาสตร์
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย( รอบคัดเลือกของเขต1)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(รอบชิงชนะเลิศระดับภาค)
- ส.ณ.ไกรสร สายลือภา ระดับม.ต้น
-อ.อัจฉรา ผู้ฝึกสอน
-ส.ณ.นิติพล เลาย้าง ระดับม.ปลาย
-อ.เจษฏาพันธ์ ผู้ฝึกสอน
( ได้รับคัดเลือกเป็นอันดับที่ 1 และ 2 ของเขต 1)
5.
24ส.ค50
โครงการจินตนาการ สืบสาน วรรณกรรมไทย
บริษัท ชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
-ม.ต้น ส.ณ.บุญมาโชติสกุลเลิศ ม.3/3 ส.ณ.ปฏิภาพ โจ้พิมาย ม.3/3
- ม.ปลาย ส.ณ. นิติพล เลาย้าง ม.6/6 ส.ณ. นรภัทร นวนด้วง ม.5/2 ส.ณ. เจตรินทร์ ธรรมดา ม.5/2
ที่
ว / ด/ ป
รายการ/ กิจกรรม
หน่วยงาน / สถานที่จัด
นักเรียน / ครู






6.






26ส.ค.50






การประกวดศิลปกรรม “นำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต”






บริษัท โตซิบา ไทยแลนด์ จำกัด
ส.ณ.สงบ ขุนยาง ม.5/2
ส.ณ. อภิวัฒน์ บุโฮม ม.5/2
- อ.อัจฉรา รับผิดชอบ

- ส.ณ.ประชา หลุยจำวัน ระดับม.ต้น
-อ.อัจฉรา ผู้ฝึกสอน
- ส.ณ.นิติพล เลาย้าง ระดับม.ปลาย
- อ.เจษฏาพันธ์ ผู้ฝึกสอน
7.
27ส.ค.50


วันวิชาการของกลุ่มโรงเรียนเอกชน


โรงเรียนเชียงใหม่คริสเครียน
ม.ต้น
ส.ณ.ประชา หลุยจำวัน
ม.ปลาย
ส.ณ. นิติพล เลาย้าง
อ.อัจฉรา ผู้รับผิดชอบ
8.
27 ส.ค.50
-5 ต.ค.50


การประกวดวาดภาพชิงทุนการศึกษา
“ ช่วยกันปิด ลดการใช้ เพื่อไทยได้ประหยัด ”

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกระทรวงพลังงาน
ม.ปลาย
ส.ณ.นิติพล เล่าย้าง ม.6/6
- อ.เจษฏาพันธ์ ผู้ฝึกสอน
9.
3- 19
ก.ย.50
การประกวดวาดภาพในโอกาสครบรอบ40 ปี อาเซียน
“ ร้อยเรียงสิบดวงใจเป็นหนึ่งเดียว”
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ม.ต้น
ส.ณ. ประชา หลุยจำวัน ม.3/3
ส.ณ.ไกรสร สายลือภา ม.3/3
ส.ณ. รัฐพงษ์ มหาวัน ม.3/4
-อ.อัจฉรา ผู้ฝึกสอนม.ปลาย
10



8 พ.ย.50
โครงการอีซูซุเยาวชนสัมพันธ์ 2550
“ ทำดีถวายในหลวง”
บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเชลล์ จำกัด
ม.ต้น
ส.ณ.ประชา หลุยจำวัน ม.3/3
ส.ณ.ไกรสร สายลือภา ม.3/3
-อ.อัจฉรา ผู้ฝึกสอน ม.ปลาย

กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม

ที่
ว / ด/ ป
รายการ/ กิจกรรม
หน่วยงาน / สถานที่จัด
นักเรียน / ครู
1
31 ก.ค. 2550
โครงการตอบปัญหาธรรมะ
พุทธสถาน จ.เชียงใหม่
อ.เอกสิทธิ์ แก้วอ้น เป็นผู้รับผิดชอบ
นายธรรมชน ปิยะวงค์
2
2 ส.ค. 2550
โครงการตอบปัญหาความรู้เกี่ยวกับรัฐสภา
สำนักผู้ตรวจราชการแผ่นดิน ณ โรงเรียนเทคโนโลยีเอเชีย
อ.เอกสิทธิ์ แก้วอ้น เป็นผู้รับผิดชอบ
นายศรัณย์ แซ่ว่าง และ นายสุรพล ปิมปา
3
3 ส.ค. 2550
โครงการกล้าใหม่ใฝ่รู้
ธนาคารไทยพาณิชย์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.ยุพิน ราษีสิทธิ์ เป็นผู้รับผิดชอบ
นายถาวร ใจยะเสน
นายธีรวัฒน์ อินตุ่น
เด็กชายปรัชญานนท์ ไชยวงค์
เด็กชายจตุฤทธิ์ แซ่เติ๋น
4
6 ส.ค. 2550
โครงการตอบปัญหาความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย
มหาวิทยาลัยพายัพ จ.เชียงใหม่
อ.สุภาพ สุดแสงตา เป็นผู้รับผิดชอบ
นายกษิณ รักษ์เมืองไพร
นายมนตรี ศรียาบ
นายสุริยะศักดิ์ ป้อศรี
5
22 ส.ค. 2550
โครงการตอบปัญหาความรู้เกี่ยวกับรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
อ.สุภาพ สุดแสงตา เป็นผู้รับผิดชอบ
นายศรัณย์ แซ่ว่าง และ นายสุรพล ปิมปา
6
28 ส.ค. 2550
โครงการตอบปัญหาทักษะวิชาการ กลุ่มโรงเรียนเอกชน จ.เชียงใหม่
- เล่าเจี้ย
- พูดแสดงความคิดเห็น
โรงเรียนสิริมังคลานุสรณ์ จ.เชียงใหม่
อ.ยุพิน ราษีสิทธิ์ เป็นผู้รับผิดชอบ
ส.ณ.ปริญญา จันทะมงคล
ส.ณ.ขจรศักดิ์ คำมา
7
31 ส.ค. 2550
โครงการตอบปัญหาทักษะวิชาการ กลุ่มโรงเรียนเอกชน จ.เชียงใหม่
- ตอบปัญหาเศรษฐกิจพอเพียง




โรงเรียนเรยีนาเชรี วิทยาลัย จ.เชียงใหม่
อ.ยุพิน ราษีสิทธิ์ อ.เอกสิทธิ์ แก้วอ้น และ อ.พระมหาอำนวย สินชัย เป็นผู้รับผิดชอบ
นายถาวร ใจยะเสน นายธีรวัฒน์ อินตุ่น นายวีรพงษ์ คำนิมิต นายธรรมชน ปิยะวงค์
นายรัฐพันธ์ กันธา
ที่
ว / ด/ ป
รายการ/ กิจกรรม
หน่วยงาน / สถานที่จัด
นักเรียน / ครู


- ตอบปัญหาเกี่ยวกับกฎหมาย






- โครงงานคุณธรรม (ช่วงชั้นที่ 4)






- บรรยายธรรมะ

นายมนตรี ศรียาบ นายศรัณย์ แซ่ว่าง
นายสุรพล ปิมปา นายกษิณ รักษ์เมืองไพร
นายสุริยะศักดิ์ ป้อศรี

นายเอกลักษณ์ มีชัย นายนฤดล สิงคราช
นายกฤษณเรศ ศรีเสนอ นายอนุรักษ์ รุ่นไสว
นายภานุเดช ชัยมูล นายวรวัฒน์ สวัสดี
นายกรกฎ รัชภูมิ นายอนุภาพ ชาวงิ้ว
ส.ณ. อาทิตย์ ฟองแก้ว
8
15 ก.ย. 2550
ตอบปัญหาเศรษฐกิจการเงิน กับธนาคารแห่งประเทศไทย
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ
อ.ยุพิน ราษีสิทธิ์ เป็นผู้รับผิดชอบ
นายถาวร ใจยะเสน นายธีรวัฒน์ อินตุ่น






3.7 ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์การเรียน รายกลุ่มสาระวิชาและชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 1/2550
ที่
กลุ่มสาระ
จำนวนนักเรียน
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย
ระดับคะแนนเฉลี่ย
จำนวนนักเรียนที่ระดับผลการเรียน
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0

มส
1
ภาษาไทย
320
21,401
66.88
2.72
55
41
39
70
65
33
0
4
13
0
2
วิทยาศาสตร์
301
21,655
71.94
2.98
72
42
74
53
42
14
1
3
0
0
3
คณิตศาสตร์
261
17,899
68.58
2.70
30
33
60
69
36
26
5
2
0
0
4
ภาษาต่างประเทศ
557
32,765
58.82
1.90
46
33
47
51
117
92
117
54
0
0
5
สังคมศึกษา ฯ
320
25,378
79.31
3.57
185
54
44
22
7
2
0
3
3
0
6
การงานอาชีพ ฯ
320
21,462
67.07
2.66
19
37
70
100
70
7
2
2
13
0
7
สุขศึกษา ฯ
160
10,431
65.19
3.17
8
27
86
1
0
0
0
0
38
0
8
ศิลปศึกษา
160
10,903
68.14
2.58
25
22
25
27
26
18
15
2
0
0
รวม
2,399
161,894
67.48
2.68
440
289
445
393
363
192
140
70
67
0




3.10 ตารางแสดงรายชื่อ ที่อยู่ โรงเรียนระดับประถมศึกษา ที่มีนักเรียนมาศึกษาต่อโรงเรียนธรรมราชศึกษา
ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2550
ลำดับ
ชื่อโรงเรียน
ที่อยู่
จำนวน (รูป/คน)
1
โรงเรียนบ้านไร่
ต.บ้านแหวน อ.หางดง จ.เชียงใหม่
7
2
โรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ
ต.หายยา อ.เมือง จ.เชียงใหม่
5
3
โรงเรียนบ้านปงป่าเอื้อง
ต.แม่ปูคา อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
5
4
โรงเรียนบ้านออนหลวย
ต.ออนเหนือ อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
5
5
โรงเรียนวัดร้องอ้อ
ต.สันผีเสี้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
5
6
โรงเรียนวัดเปาสามขา
ต.ออนกลาง อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
4
7
โรงเรียนวัดศรีสุพรรณ์
ต.หนองแก๋ว อ.หางดง จ.เชียงใหม่
4
8
โรงเรียนวัดสวนดอก
ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
4
9
โรงเรียนบ้านบวกเปา
ต.หนองเหย่ง อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
3
10
โรงเรียนบ้านป่าตาล
ต.สันผักหวาน อ.หางดง จ.เชียงใหม่
3
11
โรงเรียนบ้านหารแก้ว
ต.หารแก้ว อ.หางดง จ.เชียงใหม่
3
12
โรงเรียนบ้านใหม่ปางเติม
ต.บ้านกาด อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่
3
13
โรงเรียนวัดจอมทอง
ต.บ้านแหวน อ.หางดง จ.เชียงใหม่
3
14
โรงเรียนวัดพระนอนหนองผึ้ง
ต.หนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
3
15
โรงเรียนวัดแม่ผาแหน
ต.ออนใต้ อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
3
16
โรงเรียนวัดร้องวัวแดง
ต.ร้องวัวแดง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
3
17
โรงเรียนหมู่บ้านสหกรณ์ 2
ต.สหกรณ์ อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
3
18
โรงเรียนอนุศึกษา
ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
3
19
โรงเรียนชุมชนบ้านท่าข้าม
ต.บ้านตาล อ.ฮอด จ.เชียงใหม่
2
20
โรงเรียนเทศบาลดอกเงิน
ต.ช้างม่อย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2
21
โรงเรียนเทศบาลวัดเกตการาม
ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2
22
โรงเรียนบ้านกาดฮาว
ต.สะลวง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
2
23
โรงเรียนบ้านตาวัง
ต.ตาวัง อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
2
24
โรงเรียนบ้านบ่อสร้าง
ต.ต้นเปา อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
2
25
โรงเรียนบ้านปงวัง
ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
2
26
โรงเรียนบ้านป่าไผ่
ต.แม่โป่ง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
2
27
โรงเรียนบ้านฟ่อน
ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่
2
28
โรงเรียนบ้านม่วงโตน
ต.แม่ฮ้อยเงิน อ.ดอยสะเก็ด เชียงใหม่
2
29
โรงเรียนบ้านหัวฝาย
ต.ป่าแดด อ.แม่สรวย จ.เชียงราย
2
30
โรงเรียนวัดป่าข่อยใต้
ต.สันผีเสี้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2
ลำดับ
ชื่อโรงเรียน
ที่อยู่
จำนวน (รูป/คน)
31
โรงเรียนวัดสันโค้ง
ต.ทรายมูล อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
2
32
โรงเรียนวัดสามหลัง
ต.บ้างกลาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
2
33
โรงเรียนวัดเสาหิน
ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2
34
โรงเรียนวัดหนองป่าครั่ง
ต.หนองป่าครั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2
35
โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ
ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2
36
โรงเรียนสันทรายหลวง
ต.สันทราย อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
2
37
โรงเรียนสันป่าสัก
ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่
2
38
โรงเรียนโกวิทธำรงเชียงใหม่
ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
39
โรงเรียนช่อฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง
ต.หนองผึ้ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
1
40
โรงเรียนชุมชนกิ่วแลหลวง
ต.ยุหว่า อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
1
41
โรงเรียนชุมชนเชียงเครือฯ
ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร
1
42
โรงเรียนชุมชนบ้านดอนไชย
ต.จิม อ.ปง จ.พะเยา
1
43
โรงเรียนชุมชนวัดบวกครกน้อย
ต.หนองป่าครั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
44
โรงเรียนชุมชนวัดปากกอง
ต.สารภี อ.สารภี จ.เชียงใหม่
1
45
โรงเรียนเชียงใหม่คริสเตียน
ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
46
โรงเรียนดาราวิทยาลัย
ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
47
โรงเรียนเทศบาล 5 เด่นห้า
ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย
1
48
โรงเรียนเทศบาลวัดกู่คำ
ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
49
โรงเรียนเทศบาลวัดเชียงยืน
ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
50
โรงเรียนเทศบาลวัดศรีดอนไชย
ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
51
โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปิงเมือง
ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
52
โรงเรียนเทศบาลวัดหมื่นเงินกอง
ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
53
โรงเรียนบ่อสลี
ต.บ่อสลี อ.ฮอด จ.เชียงใหม่
1
54
โรงเรียนบ้านขอวิทยา
ต.บ้านขอ อ.เมืองปาน จ.ลำปาง
1
55
โรงเรียนบ้านเชิงดอย
ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
1
56
โรงเรียนบ้านดงอินตา
ต.บ้านเหล่า อ.แม่ใจ จ.พะเยา
1
57
โรงเรียนบ้านต้นแก้ว
ต.ขุนคง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
1
58
โรงเรียนบ้านทรายมูล
ต.ขุนคง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
1
59
โรงเรียนบ้านท่อเมืองลัง
ต.ป่าตัน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
60
โรงเรียนบ้านท่ารั้ว
ต.สันปูเลย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
1
61
โรงเรียนบ้านท่าหลุกสันทราย
ต.สันผีเสี้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
62
โรงเรียนบ้านทุ่งป่าข่า
ต.ศรีถ้อย อ.แม่ใจ จ.พะเยา
1
ลำดับ
ชื่อโรงเรียน
ที่อยู่
จำนวน (รูป/คน)
63
โรงเรียนบ้านบ่อหิน
ต.ตลาดขวัญ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
1
64
โรงเรียนบ้านป่างิ้ว
ต.สง่าบ้าน อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
1
65
โรงเรียนบ้านป่าไม้แดง
ต.ป่าป้อง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
1
66
โรงเรียนบ้านป่าเหมี้ยง
ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน จ.ลำปาง
1
67
โรงเรียนบ้านแม่กุ้งหลวง
ต.ทุ่งต้อม อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
1
68
โรงเรียนบ้านแม่ตะไคร้
ต.กาเหนือ อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
1
69
โรงเรียนบ้านแม่ตาว
ต.ท่าสายลวด อ.แม่สอด จ.ตาก
1
70
โรงเรียนบ้านแม่เตี๊ยะ
ต.แม่ถอด อ.เถิน จ.ลำปาง
1
71
โรงเรียนบ้านแม่นาจร
ต.แม่นาจร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่
1
72
โรงเรียนบ้านแม่ปูคา
ต.แม่ปูคา อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
1
73
โรงเรียนบ้านราษฎภัคดี
ต.ทับเต่า อ.เทิง จ.เชียงราย
1
74
โรงเรียนบ้านริมใต้
ต.ริมใต้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
1
75
โรงเรียนบ้านลุงท่าเจริญ
ต.ศรีดอนชัย อ.เชียงของ เชียงราย
1
76
โรงเรียนบ้านวนาหลวง
ต.ถ้ำลอด อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน
1
77
โรงเรียนบ้านวังโป่ง
ต.วังใต้ อ.วังเหนือ จ.ลำปาง
1
78
โรงเรียนบ้านสบเติ๋น
ต.สบปาด อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง
1
79
โรงเรียนบ้านสันก้างปลา
ต.เจดีย์หลวง อ.แม่สรวย จ.เชียงราย
1
80
โรงเรียนบ้านสันกำแพง
ต.สันกำแพง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
1
81
โรงเรียนบ้านสันโค้งเชียงรายจรูญราษฎร์
ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย
1
82
โรงเรียนบ้านสันทราย
ต.หนองแก๋ว อ.หางดง จ.เชียงใหม่
1
83
โรงเรียนบ้านสันป่าสัก
ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่
1
84
โรงเรียนบ้านสันผักหวาน
ต.สันผักหวาน อ.หางดง จ.เชียงใหม่
1
85
โรงเรียนบ้านสันพระเนตร
ต.สันพระเนตร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
1
86
โรงเรียนบ้านหนองครก
ต.สันทราย อ.พร้าว จ.เชียงใหม่
1
87
โรงเรียนบ้านหนองไคร้
ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
1
88
โรงเรียนบ้านห้วยทราย
ต.กกดู่ อ.เมือง จ.เลย
1
89
โรงเรียนบ้านห้วยทราย
ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
90
โรงเรียนบ้านห้วยน้ำราก
ต.จันจ้าว อ.แม่จัน จ.เชียงราย
1
91
โรงเรียนบ้านหัวฝาย
ต.สันป่าเปา อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
1
92
โรงเรียนบ้านออน
ต.ออนเหนือ อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
1
93
โรงเรียนปอวิทยา
ต.ปอ อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย
1
94
โรงเรียนปาลสุวรรณอนุสรณ์
ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
ลำดับ
ชื่อโรงเรียน
ที่อยู่
จำนวน (รูป/คน)
95
โรงเรียนพุทธิโศภณ
ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
96
โรงเรียนเมืองเด็กวิทยา
ต.ช่างเคิ่ง อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่
1
97
โรงเรียนแม่แก้ดน้อย
ต.ป่าไผ่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
1
98
โรงเรียนแม่คือวิทยาคม
ต.แม่คือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
1
99
โรงเรียนวรรษฐวรเชตฐ
ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
100
โรงเรียนวัดข่วงสิงห์
ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
101
โรงเรียนวัดขะจาว
ต.ฟ้าฮ่าม อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
102
โรงเรียนวัดท่าข้าม
ต.สบเปิง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
1
103
โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ
ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่
1
104
โรงเรียนวัดบ้านน้อย
ต.สันกำแพง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
1
105
โรงเรียนวัดป่าตัน
ต.ป่าตัน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
106
โรงเรียนวัดป่าแพ่ง
อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
107
โรงเรียนวัดเมืองสาตร์
ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1
108
โรงเรียนวัดสันกลางเหนือ
ต.สันกลาง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
1
109
โรงเรียนวัดสันดอนมูล
ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
1
110
โรงเรียนวัดสันมะฮกฟ้า
ต.ต้นเปา อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
1
111
โรงเรียนสบเปิงวิทยา
ต.สบเปิง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
1
112
โรงเรียนสันป่าตองสุวรรณราษฎร์วิทยาคาร
ต.ยุหว่า อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
1
113
โรงเรียนสันป่าตึงวิทยาคาร
ต.สันป่ายาง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
1
114
โรงเรียนสันมะฮกฟ้า
ต.ต้นเปา อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
1
115
โรงเรียนสืบนทีธรรม
ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่
1
116
โรงเรียนหนองบัวหลวง
ต.สบเปิง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
1
117
โรงเรียนอนุบาลเต่างอย
ต.เต่างอย อ.เต่างอย จ.สกนคร
1
118
โรงเรียนอนุบาลแม่ไร่
ต.แม่ไร่ อ.แม่จัน จ.เชียงราย
1

จากตารางที่ 3.10 แสดงว่ามีจำนวนนักเรียนจากโรงเรียนบ้านไร่ ต.บ้านแหวน อ.หางดง จ.เชียงใหม่ เข้ามาศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนจำนวน 7 รูป/คน รองลงมาคือโรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ ,โรงเรียนบ้านปงป่าเอื้อง, โรงเรียนบ้านออนหลวย, โรงเรียนวัดร้องอ้อ จำนวนเท่ากันคือ 5 รูป/คน ตามลำดับ
และพบว่ามีนักเรียนจากโรงเรียนต่างจังหวัดมาเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 8 จังหวัด ประกอบด้วย จ.เชียงราย จำนวนโรงเรียน 8 โรง จำนวนนักเรียน 9 รูป/คน, จ.ลำปาง จำนวนโรงเรียน 6 โรง จำนวนนักเรียน 7 รูป/คน, จ.พะเยา และจังหวัดสกลนคร มีจำนวนโรงเรียนจังหวัดละ 2 โรง จำนวนนักเรียน จังหวัดละ 2 รูป/คน และมีจังหวัดตาก จังหวัดเลย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดละ 1 รูป/คน

การมาเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา 2550 จำแนกตามระดับชั้น
เดือนปี
ชั้น
จำนวนผู้เรียนที่ไม่มาเรียน (คิดเป็นร้อยละ)
คิดเป็นร้อยละ
พ.ค.
50
มิ.ย.
50
ก.ค.
50
ส.ค.
50
ก.ย.
50
ต.ค.
50
พ.ย.
50
ธ.ค.
50
ม.ค.
51
ก.พ.
51
มี.ค.
51
มัธยมศึกษาปีที่ 1
158
316
278
327
240
237
369
310
-
-
-
6.64
มัธยมศึกษาปีที่ 2
144
515
292
291
187
221
429
321
-
-
-
8.21
มัธยมศึกษาปีที่ 3
194
531
298
403
369
292
648
318
-
-
-
9.20
มัธยมศึกษาปีที่ 4
92
252
132
186
95
157
319
183
-
-
-
5.97
มัธยมศึกษาปีที่ 5
226
424
236
307
173
247
314
269
-
-
-
9.13
มัธยมศึกษาปีที่ 6
184
427
216
240
211
346
659
323
-
-
-
9.78
รวมจำนวนทั้งหมด
998
2463
1451
1753
1275
1499
2737
1725
-
-
-
8.16
ข้อมูล ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551

จำนวนเฉลี่ยร้อยละของการมาเรียนของนักเรียนทั้งหมดเท่ากับร้อยละ 8.16
ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดคือร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดคือร้อยละ 80 ของเวลาเรียน

จำนวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียน ปีการศึกษา 2550
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ชั้น
ครูประจำชั้น
จำนวน
ชั้น
ครูประจำชั้น
จำนวน
1/1
นางสาวศศิเนตร กาละวัง
32
4/1
นางสาวจันทร์ทิพย์ สะตอง
16
1/2
นายดำรง เข็มเพ็ชร
24
4/2
นางสาวเพลินพิศ กองเงิน
30
1/3
พระอาจารย์ วัชรพล สิทธิกัน
44
4/3
นายเจษฎาพันธ์ ธัญญาจุฑารัตน์
19
1/4
พระอาจารย์ กฤษณภัค ทายะนา
43
4/4
พระอาจารย์ ณัฐชนน พัลลภประยูร
36
1/5
นายสุภาพ สุดแสงตา
37
4/5
นางนงลักษณ์ คำผาลา
24
1/6
นางสาวประภาภรณ์ ลังกาสิทธิ์
40
4/6
นายสมชาย วงค์สุธางค์รัตน์
30
2/1
นางสาวสุภัตรา จันแก้ว
48
5/1
นายจักรพันธ์ อินทะมงคล
23
2/2
นางสาวจิรัชยา มหาวรรณ
40
5/2
นางสาวอัจฉรา วงค์คำแดง
35
2/3
นางสาวลาวัล ยากรณ์
41
5/3
นายสมชาย บุญลอย
27
2/4
พระอาจารย์ สงกรานต์ พลธนะ
31
5/4
พระอาจารย์ พม.พนมกรณ์ นามราชา
31
2/5
นายอัครพล จันทะมา
31
5/5
นายปัญญา บุญเทียน
19
3/1
นายพิษณุ พลอยศรี
48
5/6
นางสาวปนัดดา ปิกวงค์
22
3/2
นายเกรียงไกร บุญเลิศ
40
6/1
นางสาวขวัญจิตร จิโน
42
3/3
พระอาจารย์ ปลัดรักษ์ แปงจันทร์เขียว
37
6/2
นางศรีวรรณ เรียนแพง
32
3/4
นายเกรียงศักดิ์ สายลือภา
33
6/3
นางกาญจนา อินถอด
31
3/5
นายจิรพงษ์ บุญเรือง
29
6/4
นางยุพิน ราศีสิทธิ์
28
3/6
นายกาหลงทอง คชอาจ
30
6/5
นางสาวนุชจรินทร์ แพ่งเมือง
15



6/6
พระอาจารย์ พม.แสงจันทร์ พรมลี
26
รวม
628
รวม
486
ข้อมูล ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551

ตารางแสดงค่าร้อยละและจำนวนผู้เรียนที่ได้รับทุนอาหารกลางวันและทุนการศึกษา
ประเภทของทุน
จำนวนผู้เรียนทั้งหมด
จำนวนผู้เรียนที่รับทุน
คิดเป็นร้อยละ(ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด)
ทุนอาหารกลางวัน
1,152
50
4.34
กู้เงินเพื่อการศึกษา กยศ.
74
6.42
ทุนมูลนิธิหมอเสม
3
0.26
ทุนมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้า
1
0.09
ทุนซิตี่แบงค์
1
0.09
มูลนิธิมาร์เซล ชาลล์ รอยส์ เพื่อเด็กไทย
3
0.26
ทุนหลวงปู่หล้า
3
0.26
ทุนเรียงความ
23
2.00
ทุน Dr.Richard Nelson-Jones
6
0.52
รวม
1,152
164
14.24

จากตารางแสดงจำนวนทุนที่นักเรียนโรงเรียนธรรมราชศึกษาได้รับ เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนนักเรียนทั้งหมด คือ 1,152 รูป คน จากจำนวนผู้ได้รับทุนทั้งหมด 164 รูป/คน คิดเฉลี่ยแล้วจากนักเรียนทั้งหมดคือร้อยละ 14.24 ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน

4. ข้อมูลด้านงบประมาณประจำปีการศึกษา 2550
รายได้ทั้งหมด 14,659,937 บาท
รายจ่ายแบ่งตามรายจ่ายประจำจำนวน 11,666,427 บาท
รายจ่ายแบ่งตามรายจ่ายตามโครงการ ดังนี้
ที่
รายการ
จำนวนโครงการ
งบประมาณ
1
โครงการฝ่ายบริหาร
4
308,000
2
โครงการฝ่ายวิชาการ
63
1,838,480
3
โครงการฝ่ายบริการ
17
467,638
4
โครงการฝ่ายกิจการนักเรียน
27
340,892
5
โครงการฝ่ายธุรการ
3
38,500
รวม
114
2,993,510


สถิติสาธารณูปโภคโรงเรียน

ลำดับ
รายการ
พ.ค.
50
มิ.ย.
50
ก.ค.
50
ส.ค.
50
ก.ย.
50
ต.ค.
50
พ.ย.
50
ธ.ค.
50
ม.ค.
51
ก.พ.
51
มี.ค.
51
เม.ย.
51
รวม (บาท)
1
ค่าโทรศัพท์
24,365
32,604
42,864
39,831
43,151
22,504
33,716
25,809





2
ค่าไฟฟ้า
1,355
2,415
2,967
2,195
4,080
2,250
2,305
2,295





รวม
25,720
35,019
45,831
42,026
47,231
24,754
36,021
28,104






5. ตารางแสดงจำนวนสถิติ การรับ-ส่ง หนังสือ และคำสั่ง ของงานสารบรรณ ประจำปีการศึกษา 2550

ประเภทหนังสือ
จำนวน (เรื่อง)
คิดเป็นร้อยละ (จากหนังสือทั้งหมด)
หนังสือรับจากภายนอก
1,480
77.49
หนังสือส่งไปภายนอก
340
17.80
หนังสือคำสั่งโรงเรียน
90
4.71
รวม
1,910
100.00
หมายเหตุ : ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 – 25 มกราคม 2551
จากตารางที่ 5 แสดงว่าจากระยะเวลาตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 จนถึง 25 มกราคม 2551 โรงเรียนธรรมราชศึกษา ได้รับหนังสือจากภายนอกมากที่สุด จำนวน 1,480 คิดเป็นร้อยละ 77.49 เป็นหนังสือส่งไปภายนอก จำนวน 340 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 17.80 และเป็นคำสั่งโรงเรียนน้อยที่สุดเท่ากับ 90 เรื่อง คิดเป็น ร้อยละ 4.71

6. ตารางแสดงจำนวนสถิต การยืม-คืน หนังสือในห้องสมุด ประจำ ปีการศึกษา 2550

ตารางที่ 6.1 ตารางแสดงจำนวน การยืม-คืน หนังสือในห้องสมุดของนักเรียน
ระดับชั้น
จำนวนนักเรียน
จำนวน (ครั้ง)
จำนวน (เรื่อง)
คิดเป็นร้อยละของจำนวนครั้ง
(จากนักเรียนทั้งหมด 1,152 รูป/คน)
มัธยมศึกษาปีที่ 1
234
13
15
14.77
มัธยมศึกษาปีที่ 2
203
4
4
4.55
มัธยมศึกษาปีที่ 3
216
13
13
14.77
มัธยมศึกษาปีที่ 4
161
26
36
29.55
มัธยมศึกษาปีที่ 5
168
3
6
3.41
มัธยมศึกษาปีที่ 6
170
29
45
32.95
รวม
1,152
88
119
100.00
หมายเหตุ : ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 – 25 มกราคม 2551
จากตารางที่ 6.1 แสดงว่าจากระยะเวลาตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 จนถึง 25 มกราคม 2551 มีนักเรียนโรงเรียนธรรมราชศึกษาใช้บริการยืมหนังสือในห้องสมุดมากที่สุด คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 29 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 32.95 รองลงมา คือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 26 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 29.55 ตามลำดับ และจากสถิติพบว่า นักเรียนระดับชั้นที่ใช้บริการยืมหนังสือในห้องสมุดน้อยที่สุด คือระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 3 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 3.41

6.2 ตารางแสดงจำนวน การยืม-คืน หนังสือในห้องสมุดของครู แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระ
จำนวนครู
จำนวน (ครั้ง)
จำนวน (เล่ม)
การยืมคิดเป็นร้อยละ
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
10
7
12
26.92
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
8
7
17
26.92
กลุ่มสาระภาษาไทย
8
2
3
7.69
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
8
2
3
7.69
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
15
7
14
26.92
กลุ่มสาระศิลปะและดนตรี
3
-
-
-
กลุ่มสาระสุขศึกษา พลศึกษา
5
1
1
3.85
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
7
-
-
-
แนะแนว
2
-
-
-
รวม
66
26
50
100.00
หมายเหตุ : ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 – 25 มกราคม 2551
จากตารางที่ 6.2 แสดงว่าจากระยะเวลาตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 จนถึง 25 มกราคม 2551 มีครูในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ยืมหนังสือมากที่สุด คือกลุ่มสาระ ละ 7 ครั้ง แต่ละกลุ่มสาระคิดเป็นร้อยละ 26.92 รองลงมา คือกลุ่มสาระภาษาไทย และกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวนกลุ่มละ 2 ครั้ง แต่ละกลุ่มสาระคิดเป็นร้อยละ 7.69 และพบว่ากลุ่มสาระศิลปะและดนตรี และกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ยังไม่มีรายการยืมหนังสือในห้องสมุดเลย







7. ตารางแสดงจำนวนสถิติ การใช้บริการห้องปฏิบัติการต่าง ๆ

ห้องปฏิบัติการ
จำนวนครั้ง
ร้อยละ
ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์
-
-
ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
130
4.46
ห้องปฏิบัติการภาษา (Sound Lab)
986
33.8
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
1,714
58.76
ห้องปฏิบัติการวิชาการ
87
2.98
รวม
2,917
100.00
หมายเหตุ : ข้อมูลตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2550 – 1 กุมภาพันธ์ 2551

ตารางแสดงจำนวนการใช้บริการห้องปฏิบัติการวิชาการ
กลุ่มสาระ
จำนวนครั้ง
ร้อยละ
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
3
3.45
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
5
5.75
กลุ่มสาระภาษาไทย
2
2.30
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
4
4.60
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
6
6.90
กลุ่มสาระศิลปะและดนตรี
6
6.90
กลุ่มสาระสุขศึกษา พลศึกษา
45
51.70
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
6
6.90
กิจกรรมแนะแนว
4
4.60
อื่น ๆ
6
6.90
รวม
87
100.00
หมายเหตุ : ข้อมูลตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2550 – 1 กุมภาพันธ์ 2551

000. ความภาคภูมิใจของครูและบุคลากรของโรงเรียน

ผลงานดีเด่นของบุคลากรในโรงเรียน

1. นายสนิท ภิระตา ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายกิจการนักเรียนคฤหัสถ์ ได้รับเกียรติบัตรผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อ
พระพุทธศาสนา จากพุทธสมาคมจังหวัดเชียงใหม่
2. นางสาวประภาภรณ์ ลังกาสิทธิ์ ครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลครูดีเด่นช่วงชั้นที่ 3 ประจำปี
การศึกษา 2550 จากสมาคมโรงเรียนเอกชนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา
3. นางยุพิน ราษีสิทธิ์ ครูกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ได้รับรางวัลครูดีเด่นช่วงชั้นที่ 4
ประจำปีการศึกษา 2550 จากสมาคมโรงเรียนเอกชนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา
4. นายเฉลิม พรมมา ครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ได้รับรางวัลคราดีเด่นจากสมาคมโรงเรียนเอกชนจังหวัด
เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2550 เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2551
5. นายสา ดาทอง ครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นเบญมดิเรกคุณา
ภรณ์ เมื่อวันการศึกษาเอกชน 10 กุมภาพันธ์ 2551
6. พระมหาแสงจันทร์ พรมลี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก
7. พระมหาเดช ทรงจิตร กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก
8. นายอภินันท์ วรรณวิริยวัตร กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
9. นางสาวประภาภรณ์ ลังกาสิทธิ์ กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช
10. นางสาวจิรัชยา มหาวรรณ์ กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช





ตารางแสดงรายละเอียดการพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอนของบุคลากรประจำปีการศึกษา 2550
ที่
วันเดือนปี
ชื่อ-สกุล
เรื่อง
สถานที่
1
25-28 เม.ย. 50
พระครูสิริธรรมโฆษิต
หลักสูตรขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนวินิตศึกษา จ.ลพบุรี
2
5-6 ก.ค 50
นายจักรพันธ์ อินทร์มงคล
เทคนิคการสร้างความเข้มแข็งทางใจแก่วัยรุ่นและสร้างเครือข่ายการแนะแนวอาชีพ
โรงเรียนเทคโนโลยีเอเชีย
3
7 ก.ค 50
พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน
โรงเรียนดาราวิทยาลัย
4
11-13 ก.ค.50
นายเฉลิม พรหมมา
นางสาวอุษา กันทะวงค์

โรงเรียนดาราวิทยาลัย เชียงใหม่
5
17 ก.ค.50
นางสาวขวัญจิต จิโน
โครงการอบรมสมาชิกชมรม อย.น้อย
โรงแรมเซนทรัล เชียงใหม่
6
19 ก.ค 50
นายสมชาย วงศ์สุธางค์รัตน์
ประชุมสมาชิกชมรมครูสอนภาษาจีน
ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนเชียงใหม่ (สปจ.เดิม)
7
23 ก.ค 50

นายเอกสิทธิ์ แก้วอ้น
นายนภดล ยุกตะบุตร
นายจักรพันธ์ อินทร์มงคล
การส่งเสริมประสิทธิภาพระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบสมานฉันท์
โรงเรียนดาราวิทยาลัย
8
24-25 ก.ค 50
น.ส.ปนัดดา ปิกวงศ์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการศิลปะการสอนภาษาจีนสำหรับผู้เรียนชาวไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
9
3 ส.ค 50
นายสง่า นันทะกาญจน์
นายอาทิตย์ หน่อคำมา
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ห้องเวียงทอง โรงแรมเดอะปาร์ค เชียงใหม่
10
4 ส.ค 50
พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์
ประชุมสัมมนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชน
โรงเรียนดาราวิทยาลัย
11
4 ส.ค 50
นายสังเวียน กุณา
นายเฉลิม พรมมา
ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาครูในระดับช่วงชั้นที่ 4 (การพัฒนาระบบบริหารงานและระบบการเรียนการสอนโดยใช้เครื่องมือบริหารอัตโนมัติ)
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
12
8-9 ส.ค 50
พระมหาจำลอง พรมเสน
อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและการสร้างแบบวัดด้านทักษะกระบวนการคิด



ที่
วันเดือนปี
ชื่อ-สกุล
เรื่อง
สถานที่
13
15 ส.ค 50
08.00-12.00
นายศิริพงษ์ มะโนเกี๋ยง
นายสง่า นันทะกาญจน์
นายสังวร ฟองคำ
นายสนิท ภิระตา
นายอภินันท์ วรรณวิริยวัฒน์
การจัดกิจกรรมรวมพลังมวลชนเพื่อแสดงพลังขับเคลื่อนประชาธิปไตยของจังหวัดเชียงใหม่
สนามฟุตบอลกลาง สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี
14
23-24 ส.ค.50
นายสนิท ภิระตา
อบรมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม
วัดป่าดาราภิรมย์ ต.แม่ริม อ.แม่ริม เชียงใหม่
15
24-26 ส.ค.50
นายพิษณุ พลอยศรี
นายเกรียงศักดิ์ สายลือภา
นายอัครพล จันทะมา
นางสาวศศิเนตร การะวัง
นางสาวพิมลรัตน์ แสนคำ
อบรมลูกเสือ BTC
โรงเรียนเพื่อชีวิตเชียงใหม่
ต.ป่าเมียง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
16
27 ส.ค. 50
นายสุภาพ บุญเรือง
เทคนิคการสอนเขียน เรียนสนุก ช่วงชั้นที่ 3, 4
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
17
28 ส.ค 50
นางนงลักษณ์ มะลิปะทิน
ร่วมเป็นกรรมการตัดสินการแข่งขันทักษะภาษาไทย
โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย อำเภอเมือง เชียงใหม่
18
31 ส.ค 50
นายสมชาย บุญลอย
สัมมนาฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างอาจารย์พี่เลี้ยงและนักศึกษาฝึกสอน
ห้องพลบดี 1สถาบันการพลศึกษา เชียงใหม่
19
5 ก.ย. 50
พระมหาจำลอง พรมเสน
การศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
20
11 ก.ย 50
พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์
ประชุมสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่
ห้องประชุมอาคารพระธรรมสิทธาจารย์ (อาคาร 5 ชั้น)
21
13 ก.ย 50
นางนงลักษณ์ มะลิปะทิน
ประชุมเสวนาให้ข้อมูลสัมภาษณ์กระบวนการพัฒนาหลักสูตรปริญญาตรี ปี 2548 (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จัดงาน)
โรงแรมเชียงใหม่รัตนโกสินทร์ อำเภอเมือง เชียงใหม่
22
14 ก.ย 50
นายอาทิตย์ หน่อคำมา
สุขภาพเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่วันนี้ วันหน้า (จังหวัดเชียงใหม่จัดงาน)
โรงแรมเชียงใหม่ภูคำ อำเภอเมือง เชียงใหม่
23
15 ก.ย 50
นายเอกสิทธิ์ แก้วอ้น
นายจักรพันธ์ อินทร์มงคล
การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนเอกชน
โรงเรียนดาราวิทยาลัย
24
15 ก.ย 50
นางสาวพรทิพย์ มูลมาวัน
ประชุมปฏิบัติการการใช้ระบบสารสนเทศสถานศึกษาและบริหารจัดการเงินอุดหนุน (PSIS) (สช.จัดงาน)
โรงเรียนพณิชยการเชียงใหม่ อำเภอเมือง เชียงใหม่
ที่
วันเดือนปี
ชื่อ-สกุล
เรื่อง
สถานที่
25
17 ก.ย 50
นายอาทิตย์ หน่อคำมา
โครงการ อย.น้อย
ศูนย์พัฒนาบุคลากร สพท.ชม. 1 (สปจ.เดิม)
26
20 ก.ย 50
08.00-12.00
นางสาวพรทิพย์ มูลมาวัน
การอบรมเชิงปฏิบัติการนายจ้าง เรื่องการจัดทำข้อมูลประกันสังคมด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์และนำส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
27
20 ก.ย 50
นายสง่า นันทะกาญจน์
พิธีมอบเกียรติบัตรนักเรียนดีเด่นสุดยอดมหกรรมแข่งทักษะวิชาการ
โรงเรียนดาราวิทยาลัย อำเภอเมือง เชียงใหม่
28
21 ก.ย 50
นายจักรพันธ์ อินทร์มงคล
โครงการ Open House คณะผลิตกรรมการเกษตรประจำปี 2550
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
29
25 ก.ย 50
13.00-16.00
พระมหาจำลอง พรมเสน
สพท.ชม. 1 ประเมินนักเรียนดีเด่น (นายาวร ใจยะเสน)
เขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1
30
27 ก.ย 50
นายนภดล ยุกตะบุตร
ประชุมสัมมนาการเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
ห้องโสต 4 อาคารเรือนเพชร โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
31
28 ก.ย 50
08.30-12.00
นายเกรียงไกร บุญเลิศ
อบรมครูเพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์
โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว ห้องสันป่าตึง
32
15 ต.ค 50
นายอาทิตย์ หน่อคำมา
ประชุมระดมความคิดเห็น ปรับยุทธศาสตร์อาหารเชียงใหม่ปลอดภัย
ห้องวชิรธาร ชั้น 2 โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน เชียงใหม่
33
26 ต.ค. 50
นายสมชาย วงศ์สุธางค์รัตน์
น.ส.ปนัดดา ปิกวงค์
น.ส.นุชจรินทร์ แพ่งเมือง
การสร้างและพัฒนาหลักสูตร
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่
34
21 พ.ย. 50
พระสิงหวิชัย
พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์
นายสง่า นันทะกาญจน์
ประชุมผู้บริหารโรงเรียนเอกชน
โรงเรียนดาราวิทยาลัย เชียงใหม่
35
7 ม.ค. 51
นายสง่า นันทะกาญจน์
นายสมชาย บุญลอย
ประชุมกีฬาวันครู 16 ม.ค. 51
ห้องสภานักเรียน โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย เชียงใหม่
36
16 ก.พ. 51
พระครูปริยัติกิจจาภิวัฒน์
ประชุมสัมมนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชนภาคเหนือ
ห้องแกรนด์ภูคำ โรงแรมเชียงใหม่ภูคำ




000. ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชน
เปิดโอกาสให้บุคลากรภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม
การจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
กิจกรรมสำคัญ
วัน/เดือน/ปี
ผู้ร่วมกิจกรรม
ความคิดเป็นข้อเสนอแนะผู้ร่วมงาน
ผู้ปกครอง
ผู้แทนหน่วยงาน
เอกชน
อื่น ๆ
1. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนใหม่
27 พ.ค. 50
P




2. วันไหว้ครู

P




3. ทำบุญอาคารเรืองวิสุทธิ์

P
P
P
P

4. โครงการวัฒนธรรมล้านนา (กำเมือง) สู่นักเรียน



P
P

5. เข้าค่ายลูกเสือสามัญ กลุ่มการกุศลฯ


P
P
P

6. เข้าค่ายปฏิบัติธรรมธรรมพัฒนา
29-30 ม.ค.51
P
P
P
P

7. เข้าค่ายปฏิบัติธรรมชำระใจ


P
P
P

8. วันแม่แห่งชาติ
12 ส.ค. 50
P




9. วันพ่อแห่งชาติ
5 ธ.ค. 50
P




10. เยี่ยมเยือนบ้านนักเรียน
ตลอดปี
P




11.เข้าค่ายปฏิบัติธรรมชำระใจ


P
P


12.เข้าร่วมปฏิบัติธรรมพุทธมณฑล จ.นครปฐม


P
P
P

13.วันวิสาขบูชา

P
P
P
P

14.วันมาฆบูชา

P
P
P
P

15.โครงการวันอำลาสถาบัน

P

P
P

16.ประชุมผู้ปกครองประจำปี

P

P
P


การให้บริการชุมน
ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน
โรงเรียนได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับชุมชนพอสรุปได้ดังนี้
การให้บริการและการเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนในปีการศึกษา 2550
กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน
จำนวนครั้ง
จำนวนผู้รับบริการ
สอบนักธรรม และธรรมศึกษา
1
800
สถานสอบประกันชีวิต
เดือนละ 2 ครั้ง

ร่วมเป็นเจ้าภาพ สวดพระอภิธรรม ศพ
5

วันสามเณรประจำปี 2550
1
400
สถานที่จอดรถวันอาทิตย์ ถนนคนเดิน
ทุกวันอาทิตย์

ร่วมเดินขบวนกิจกรรมวันวิสาขะบูชา
1

กิจกรรมปฏิบัติธรรมะชำระใจ ร่วมกับคณะศรัทธาวัดพระสิงห์ทำบุญตักบาตรทุกวันพระ
40

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น